ภาวะของระดับแร่ธาตุที่จำเป็นในเลือดช้างไทย (<I>Elephas maximus indicus</I>) 2. ฟอสฟอรัส

Main Article Content

อังคณา ผ่องแผ้ว
ไกรแก้ว คำดี
เพ็ญศรี ธีระวัฒน์
ปรีชา พวงคำ
สิทธิเดช มหาสาวังกุล
กฤษฎา ลังกา
พิพัฒนฉัตร ดิศกุล

บทคัดย่อ

การศึกษาภาวะของฟอสฟอรัสในเลือดช้างไทย (Elephas maximus indicus) ของศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย จังหวัดลำปาง จำนวน 41 เชือก พบว่าค่าเฉลี่ย ± SD เท่ากับ 4.99 ± 1.15 mg% อายุมีอิทธิพลทางลบต่อปริมาณฟอสฟอรัสในเลือด (b = -0.04, r2 = 0.51, p <0.01) ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มอายุแตกต่างกัน (p <0.01) แต่ไม่มีความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างเพศ (p > 0.05) ส่วนความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างฤดูกาลมีนัยสำคัญยิ่ง โดยฤดูร้อนมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (4.71 ±0.82 mg%) และฤดูหนาวมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (5.31 ±1.50 mg%) อัตราส่วนแคลเซียมต่อฟอสฟอรัสมีค่าเฉลี่ย 2.61 ± 1.51 (SE = 0.06) และแต่ละกลุ่มอายุมีอัตราส่วนแตกต่างกันทางสถิติ แต่ไม่แตกต่างกันระหว่างช้างเพศผู้และเพศเมีย (p> 0.05).

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

นุสสรา วัฒนกุล, กัลยา มิตรไพบูลย์, พรรณพิไล เสกสิทธิ์, วิโรจน์ ทองเหลือ, กุญชร วัชชัย, นวลมณี กาญจนพิบูลย์, จินตนา ภูติวรนาถ และประเสริฐ ศงสะเสน. 2527. การศึกษาค่ามาตรฐานของแร่ธาตุที่มีผลต่อการผสมติดในซีรั่ม ของโคนมสมบูรณ์พันธุ์ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสัตวแพทย์ปีที่ 5(3): 158-165.

ปราณี ตันติวนิช และไพวิภา สุทธิพงศ์. 2527. ค่าระดับ Electrolyte ปกติในเลือดของกระบือปลักไทย. เวชช สารสัตวแพทย์ 14(1): 1-5.

พันทิพา พงษ์เพียจันทร์. 2535. หลักการอาหารสัตว์เล่ม 1 โภชนะ. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 207 หน้า.

มาลินี ลิ้มโภคา, ทวีวัฒน์ ทัศนวัฒน์ และธวัชชัย ศักดิ์ภู่อร่าม. 2525. การศึกษาปัญหาแร่ธาตุในปศุสัตว์ใน ประเทศไทย 1. การศึกษาปริมาณของแร่ธาตุในเลือคโค กระบือ หญ้า และดิน ในจังหวัดสกลนคร ตาก และสุโขทัย. วารสารสัตวแพทย์ 3(1): 9-24.

เมธา วรรณพัฒน์. 2529. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. ห้างหุ้นส่วนจำกัดฟันนีพับลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 387 หน้า.

สุพิศ จินดาวณิค. 2524. ชีวเคมีคลินิคเล่ม 2. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 261 หน้า.

สุรเชษฐ์ อุษณกรกุล. 2537. สรีรวิทยาการสืบพันธุ์ของช้าง. เอกสารประกอบการบรรยายโครงการฝึกอบรมผู้ดูแลสุขภาพช้างเบื้องต้น ณ ศูนย์อนุรักษ์ช้างไทย จังหวัดลำปาง. 11 หน้า.

อำนวย คอวนิช. 2505. ความรู้เรื่องช้าง กองทำไม้ภาคเหนือจั งหวัดลำปาง. 1-14.

Amstutz, H.E., J. Armour, D.C. Blood, C.L. Chrisman, F.M. Loew and G.H. Snoeyenbos. 1991. The Merck Veterinary Manual 7th ed. Fraser, C.M. (editor) Bergeron, J.A., Mays, A. andAiello, S.E. (associated editor). Merck & Co., Inc. New Jersey. 1832 p.

Brown, I.R.F. and P.T. White.1980. Elephant Blood Haematology and Chemistry. Comp. Biochem. Physiol. 65B: 1-12.

Capen, C.C. and J.T. Rosol. 1989. Calcium-Regulating Hormones and Diseases of Abnormal Mineral (Calcium, Phosphorus, Magnesium) Metabolism In Clinical Biochemistry of Domestic Animals (Kaneko, J.J. editor) 4th ed. Academic Press, Inc. 678-752.

Gromadzka-Ostrowska, J., K. Jakubow, B. Zalewska and Krzywicki, Z. 1989. Haematological and blood biochemical studies in female domesticated Indian elephants (Elephas maximus L.). Comparative Biochemistry and Physiology, A Comparative Physiology 89(3): 313-315.

Hill, F.W.G. and D.A. Smith. 1990. Clinical chemistry values for free-ranging elephants (Loxodonta africana) in Hwange National Park, Zimbabwe. Zimbabwe Veterinary Journal. 21(1): 33-42.

Lewis, J.H. 1974. Comparative hematology: studies on elephants, Elephas maximus. Comp. Biochem. Physiol., Vol. 49A: 175-181. Underwood, E.J. 1981.

Silva, I.D. and V.Y. Kuruwita. 1993.Hematology,plasma and serum biochemistry values in freeranging elephants (Elephas maximus ceylonicus) in Sri Lanka. Journal of Zoo and Wildlife Medicine 24(4): 434-439.

Underwood, E.J.1981.The Mineral Nutrition of Livestock. 2nd ed. Page Bros(Norwich) Ltd. Norwich. England. 180 p.