อายุและน้ำหนักเมื่อเป็นสัดครั้งแรกของโคสาวพันธุ์อเมริกันบราห์มัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
จากการศึกษาวิจัยลักษณะที่สำคัญทางเศรษฐกิจ โดยทำการศึกษาอายุและน้ำหนักเมื่อเป็นสัดครั้งแรกของโคสาวพันธุ์อเมริกันบราห์มัน ที่ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่พบว่า มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 707.07 วัน และ 341.32 กิโลกรัม ตามลำดับ มีน้ำหนักแรกเกิด, น้ำหนักหย่านมเมื่อ 205 วัน,อัตราการเจริญเติบโตก่อนและหลังหย่านมเท่ากับ 24.83 กิโลกรัม, 62.45 กิโลกรัม, 668.34 กรัม/วัน และ 280.21 กรัม/วัน ตามลำดับศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่มีผลต่ออายุและน้ำหนักเมื่อเป็นสัดครั้งแรก ได้แก่ พ่อพันธุ์, อายุแม่พันธุ์ และฤดูที่เกิด พบว่า พ่อพันธุ์ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล มีผลทำให้อายุเมื่อเป็นสัดครั้งแรกของโคสาวมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) ส่วนอายุแม่พันธุ์และฤดูที่เกิดไม่มีอิทธิพลต่ออายุและน้ำหนักเมื่อเป็นสัดครั้งแรก (P>0.05) สหสัมพันธ์ระหว่างอายุและน้ำหนักเมื่อเป็นสัดครั้งแรกเท่ากับ 0.75 (P<0.01) ส่วนสหสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตหลังหย่านม กับอายุและน้ำหนักเมื่อเป็นสัดครั้งแรกเท่ากับ -0.27 (P<0.05) และ -0.83 (P<0.01) ตามลำดับ โดยมีสมการถดถอยของการเจริญเติบโตหลังหย่านมที่มีผลต่ออายุเมื่อเป็นสัดครั้งแรกเท่ากับ -1.30 (P<0.01)
Article Details
References
Cundiff, L.V., Gregory K.E., Koch R.M., and Dickerson G.E., (1986). Genetic diversity among cattle breeds and use to increase beef production efficiency in a temperature environment. Proc. 3 rd World Congr. on Genet. Appl. to Livest. Prod., IX. pp 271-282. Lincoln, NE.
Dale, H.E., Ragsdale A.C., and Cheng S.S., (1959). Effect of constant environmental temperatures, 50 degrees and 80 degrees F., on appearance of puberty in beef calves. J.Anim.Sci. 18: 1363.
Harvey, W.R. (1975). Least square analysis of data with unequal sub-class numbers. Publication ARS H-4. USDA Agriculture Research Service. 157 p.
Martin, L.C., Brinks J.S., Bourdan R.M., and Cundiff L.V., (1992). Genetic Effects on Beef Heifer Puberty and Subsequent Reproduction. J.Anim. Sci. 70: 4006.
Nelson, T.C., Long C.R., and Cartwright T.C., (1982). Postinflection Growth in Straightbred and Crossbred Cattle. II. Relationships among Weight, Height and Pubertal Characters. J.Anim.Sci. 55: 293.
Nelson, T.C., Short R.E., Phelps D.A. and Staigmiller R.B., (1985). Nonpuberal Estrus and Mature Cow Influences on Growth and Puberty in Heifers. J.Anim.Sci. 61: 470.
Patterson, D.J., Corah L.R., Brethour J.R., Higgins J.J., Kiracofe G.H., and Sterenson J.S., (1992a). Evaluation of Reproductive Traits in Bos taurus and Bos indicus Crossbred Heifers: Relationship of
Age at Puberty to Length of the Postpartum Interval to Estrus. J.Anim. Sci. 70: 1994.
Patterson, D.J., Perry R.C., Kirocofe G.H., Bellows R.A., StraigmillerR.B. and Corah L.R., (1992b). Management Considevations in Heifer Development and Puberty. J.Anim. Sci. 70: 4018.
Plasse, D., Warnick A.C., and Koger M., (1968). Reproductive Behavior of Bos indicus Females in a Subtropical Environment. I. Puberty and Ovulation Frequency in Brahman and Brahman x British Heifers. J.Anim.Sci. 27:94.
Roberson, M.S., Wolfe M.W., Stumpf T.T., Werth I.A., Cupp A.S., Kojima N., Wolfe P.L., Kittok R.J.,and Kinder J.E., (1991). Influence of Growth Rate and Exposure to Bulls on Age at Puberty DE in Beef Heifers. J.Anim.Sci. 69: 2092.
SAS. (1990). SAS. User's Guide: Statistics. SAS. Inst., Inc., Cary, Nc. USA.
Short, R.E. and Bellows R.A., (1971). Relationships Among Weight Gains, Age at Puberty and Reproductive Performance in Heifers. J.Anim. Sci. 32: 127.