ผลสำเร็จของการย้ายฝากตัวอ่อนโคนมพันธุ์แท้ในประเทศไทย

Main Article Content

สัมพันธ์ สิงหจันทร์
วรรณดา สุจริต
สมุทร ศิริเวชพันธุ์
จำเนียร สัตยาพันธุ์

บทคัดย่อ

ขั้นตอนที่สำคัญตอนหนึ่งของเทคนิคการย้ายฝากตัวอ่อนคือ การคัดเลือกตัวให้ (Donor) จากการที่ได้ประสบความสำเร็จในการย้ายฝากตัวอ่อนในโคนมลูกผสมมาแล้ว ประกอบกับปัจจุบันเกษตรกรได้ให้ความสนใจเลี้ยงโคนมพันธุ์แท้กันมาก โดยเฉพาะโคพันธุ์โฮลสไตน์ ฟรีเชี่ยน ซึ่งมีประวัติการให้นมสูง เลี้ยงง่าย และเป็นที่นิยมของเกษตรกร จึงได้มีการศึกษาการย้ายฝากลูกอ่อนโคนมพันธุ์แท้ขึ้น.


ได้ทำการล้างเก็บลูกอ่อนจากโคพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนเลือด 100 เปอร์เซนต์  ซึ่งบริษัทแอสโก้ จำกัด ได้น้อมเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ  ให้สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จำกัด เลี้ยงไว้

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ตั้งธนะวัฒน์, พิทยา., อรุณประเสริฐ, ดารทัย., เกียรติสามารถ, สัมพันธ์., โลหะชิต, ชัยณรงค์., จันทร์ประทีป, พีระศักดิ์, โพธิปักษ์, ประสิทธิ์., และ โลหิต, จันทิมา. (2524). การเหนี่ยวนำให้กระบือตกไข่เพิ่มขึ้นและเก็บคัพภะโดยไม่ผ่าตัด. รายงาน Case Conference ประจำปีการศึกษา 2524, คณะสัตวแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 19.
นิตยวรรธนะ, สมิต., ฉัตรไชยเดช, สมบุญ., ตันติขันติการ, กิตติ., โลหะชิต, ชัยณรงค์., จันทร์ประทีป, พีระศักดิ์., และโพธิปักษ์, ประสิทธิ์. (2525). การถ่ายฝากคัพภะในควายโดยวิธีนิรศัลยกรรม. รายงาน Case Conference ประจำปีการศึกษา 2526, คณะสัตวแพทยศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 23.
เยี่ยมละมัย, สุณีรัตน์., สว่างศรีบรรเทิง, สุรพงษ์., ลิขิตผดุงกิจ, ชาญยุทธ., โลหะชิต, ชัยณรงค์., จันทร์ประทีป, พีระศักดิ์., โพธิปักษ์, ประสิทธิ์., และวีรกุล, ปราจีน. (2526). การถ่ายฝากคัพภะในโครายงาน Case Conference ประจำปีการศึกษา 2527, คณะสัตวแพทยศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชรงค์, ชัย., พฤกษ์ภาคภูมิ, คณิต, เตชะศิริวรรณ, วิธูร., โลปะชิต, พีระศักดิ์., และโพธิปักษ์, ประสิทธิ์. (2526). การพยายามเพื่อการถ่ายฝากคัพภะในควายปลักโดยวิธีนิรศัลยกรรม. รายงาน Case Conference ประจำปีการศึกษา 2526, คณะสัตวแพทยศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หน้า 18.
สัตยาพันธ์, จำเนียร., สิงหจันทร์, สัมพันธ์., สุจริต, วรรณดา., สิริเวชภัณฑ์, สมุทร., ดวนใหญ่, สมพร., สุขภัทราภิรมย์, วิศุทธิ์., วังตาล, อุดม., และโพธิปักษ์, ประสิทธิ์. (2529). การผลิตไข่มากใบกว่าธรรมชาติ เพื่อพัฒนาเทคนิคการถ่ายฝากคัพภะในโคนม. รายงานการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2529, ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, สาขาวิทยาศาสตร์, 27-29 มกราคม 2529, กรุงเทพฯ.
สิงหจันทร์, สัมพันธ์. (2526). เอกสารประกอบคำบรรยาย การถ่ายฝากคัพภะให้นิสิตคณะสัตวแพทยศาสตร์,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, สิงหาคม 2526.
สิงหจันทร์, สัมพันธ์., สุจริต, วรรณดา., สัตยาพันธุ์, จำเนียร.., สิริเวชพันธุ์, สมุทร, วังตาล, อุดม., สุขภัทราภิรมย์, วิศุทธิ์., และโพธิปักษ์, ประสิทธิ์. (2529) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การถ่ายฝากคัพภะในโคนมในประเทศไทย. รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2559 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, สาขาสัตวแพทย์ 27-29 มกราคม 2529, กรุงเทพฯ และสัตวแพทยสาร ปีที่ 36 เล่ม 4, ธันวาคม 2528 : 367-682.
สุจริต, วรรณดา., สัตยาพันธุ์, จำเนียร., สิงหจันทร์, สัมพันธ์., สิริเวชภัณฑ์, สมุทร., ดวนใหญ่, สมุทร., วังตาล, อุดม., สุขภัทราภิรมย์, วิศุทธิ์., และ โพธิปักษ์, ประสิทธิ์. (2529). การประเมินคุณภาพของคัพภะเพื่อการพัฒนาทางเทคโนโลยีชีวภาพในโคนม รายงานการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2529, ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์, 27-29 มกราคม 2529, กรุงเทพฯ.
Baker, A.A. and Jillilla, D. (1978). Techniques of Surgical and Non-surgical Collection of Superovulated Cows. Vet. Rec. 103: 558-562.
Brand, A. and Drost, M. (1977). Embryo Collection by Non-surgical Methods. In: Embryo Transfer in Farm Animals. Betteridge, K.J. (ed). Monograph No.16, Canada Department of Agriculture, Ottawa, P.16-19.
Chung, K.S., Lee, H.T., Park, H.D. Chung, B.H. and Yoo, S.H. (1983). Twin induction by embryo transfer in cattle. III. Non-surgical recovery of embryo. Korean J. Animal Sci., 25 (5): 408-412.
Danaldson, L.E. (1984). Embryo Production in superovulated cows: Transferable embryo correlated with total embryos. Theriogenology. 21(4): 517-524.
Jillella, D. (1983). Embryo transfer technology and its application in the asia region. Asia Livestock. 8: 108-111.
Kim, H.S., OH, S.J., Yang, B.S., Lee, K.S. and Chung, K.S. (1985). Studies on the transfer in cattle. Korean J. Animal Sci., 27(4): 206-210.
Linder, G.M. and Wright, R.W. Jr. (1983). Bovine embryo morphology and evaluation.Theriogenology. 20(4): 407-416.
Lindsell, C.E., Pawlyshyn, V., Bielanski, A. and Mapletoft, R.J. (1985). Superovulation of heifer with FSH-P beginning on four different days of the cycle. Theriogenology. 23(1): 203.
Rowe, R.E., Crister, J.K. and Ginter, O.J. (1979). Non-surgical embryo in cattle. Theriogenology. 11 (1): 107.
Schneider, U. and Hahn, J. (1979). Bovine embryo transfer in Germany. Theriogenology. 11 (1): 63- 80.
Shelton, J.N., Heath, T.D., Old, K.G. and Turnbull, G.E. (1979). Non-surgical recovery of eggs from single-ovulating bovines. Theriogenology. 11: 149-152.
Wilmut, I. (1980). Embryo transfer in cattle breeding. World Animal Rev. 35: 30-35.