การจัดการน้ำของชุมชนในพื้นที่ป่าพรุ : ศึกษาชุมชนบ้านเนินธัมมัง ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
Main Article Content
Abstract
ผลการศึกษาสรุปได้ว่า ชุมชนบ้านเนินธัมมังเป็นชุมชนในเขตป่าพรุที่มีแหล่งน้ำล้อมรอบ มีทั้งแหล่งน้ำธรรมชาติ ประกอบด้วยคลองปากพนัง-ชะอวด บาง ทอน เม มาบ แปล๊ก และแหล่งน้ำที่ชาวบ้านสร้างขึ้นมาประกอบด้วยบ่อล่อปลา บ่อน้ำ เหมืองไส้ไก่ และการขุดโคกยกร่องจึงทำให้วิถีชีวิตของคนในชุมชนมีความสัมพันธ์กับทรัพยากรน้ำ ก่อให้เกิดการสั่งสมความรู้ในการจัดการและการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำในหลายลักษณะ ทั้งการใช้แหล่งน้ำในการอุปโภค บริโภค ทำการเกษตร การคมนาคมและขนส่ง จับสัตว์น้ำ การลำเลียงไม้ และการแลกเปลี่ยนผลผลิต ซึ่งความรู้ของชาวบ้านในการจัดการน้ำมีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ ความรู้ดั้งเดิมของชาวบ้านและมีการปรับเปลี่ยนความรู้ให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ในแต่ละยุค ส่วนความรู้อีกลักษณะหนึ่ง คือ การดึงความรู้จากข้างนอกมาผสมผสานกับความรู้เดิมของชาวบ้านที่มีอยู่ นอกจากนี้ยังมี เทคโนโลยีในการจัดการน้ำจากภายนอกที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือเรื่องน้ำให้กับชุมชน เช่น ระบบประปาหมู่บ้าน
Water Management in Peat swamp area : Nernthammang Community, Tambon Maejao-uhau, Amphoe Chienyai, Changwat Nakhon Si Thammarat
This study aims to investigate the management of water in peat swamp area, focused on Nernthammang Community in Tambon Maejao-uhau, Chienyai, Nakhon Si Thammarat. This study is characterized as qualitative research based on documents, interviews, observations participatory via joining the community activities and small group discussions.
The result of the study shows that the livelihood of Nernthammang Community is closely associated to water resources. The water resources Pakpanang – Cha-uad Canal, Bang, Ton, Mae, Mab, Plack, and other manmade sources of water, consist of fish-luring ponds, water ponds, irrigation ditches, and grooved mounds. The people in the community have pick up the knowledges of water management and water sources, uses in many ways, drinking, agriculture, transportation, fishing, and logistics. There are two strategies of water management; 1) The original wisdom and modifications, 2) Integration of local wisdom and new technologies. Besides, there is such outside technology, help village water supply.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.