A study of Parah (Elateriospermum tapos) Phenology at Park Ranger Station 5 Hui Lek

Main Article Content

Uthai Kuhapong
Walaiporn Sornkliang
Wichit Sookkhathon
Rattayagon Thaiphan
Mullica Jaroensutasinee
Krisanadej Jaroensutasinee

Abstract

Leaf and flower phenology of Elateriospermum tapos (Euphorbiaceae) was studied at Hui Lek Ranger Station, Khao Nan National Park during 2007~2010. In 2007, the timing of Parah budburst at Hui Lek Ranger Station started on the 13th February 2007 and ended on the 24th March 2007 with a budburst duration of 40 days. In 2008, the timing of budburst at Hui Lek Ranger Station on the 2nd January 2008 and ended on the 29th March 2008 with a budburst duration of 90 days. In 2009, the timing of budburst at Hui Lek Ranger Station was started on the 13th February 2009 and ended on the 17th March 2009 with a budburst duration of 33 days. In 2010, the timing of budburst at Hui Lek Ranger Station on the 10th February 2010 and ended on the 1st April 2009 with a budburst duration of 51 days. The mean ±SD of climatic factors at the Parah forest from November 2006 to April 2010 was 24.17 ± 1.29 °C with a relative humidity of 88.35 ± 10.86 %, and a daily rainfall of 4.25 ± 9.78 mm. During budburst, there was almost no rainfall. This would help us to understand the effect of climate change by using Parah phenology as a bio-indicator.

 

ชีพลักษณ์ของต้นประ (Elateriospermum tapos) หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขานันหน่วยย่อยที่ 5 ห้วยเลข

การศึกษานี้เป็นการศึกษาชีพลักษณ์ของใบและดอกของต้นประ (Elateriospermum tapos (Euphorbiaceae) จากจุดศึกษา บริเวณห้วยเลข อุทยานแห่งชาติเขานัน จังหวัดนครศรีธรรมราช ในระหว่างปี พ.ศ. 2550 ถึงปี พ.ศ. 2553 ที่จุดศึกษาห้วยเลขในปี พ.ศ. 2550 ต้นประแตกตายอดตั้งแต่ 13 ก.พ.-24 มี.ค. 2550 เป็นเวลา 40 วัน ในปีพ.ศ. 2551 ต้นประแตกตายอดตั้งแต่ 2 ม.ค.-29 มี.ค. 2551 เป็นเวลา 90 วัน ในปี พ.ศ. 2552 ต้นประแตกตายอดตั้งแต่ 13 ก.พ.-17 มี.ค. 2552 เป็นเวลา 33 วัน ในปี พ.ศ. 2553 ต้นประแตกตายอดตั้งแต่ 10 ก.พ.-1 เม.ย. 2553 เป็นเวลา 51 วัน ที่จุดศึกษาห้วยเลขมีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 24.17 ± 1.29 °C ความชื้นสัมพันธ์เท่ากับ 88.35 ± 10.86% และน้ำฝนเฉลี่ยวันละ 4.25 ± 9.78 มม. ในระหว่างที่มีการแตกตายอดแทบจะไม่มีฝนตกเลย ข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์ในการ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ โดยใช้ชีพลักษณ์ของต้นประเป็นดัชนีบ่งชี้

Article Details

Section
Articles