บทเรียนทบทวนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Main Article Content

วรรษมล ชนะศิลป์
ไพฑูรย์ พิมดี
ฐิยาพร กันตาธนวัฒน์

Abstract

The purposes of this research were to create and find out the quality and efficiency of web–based instruction (WBI) for review on integer system for grade 7 students and to compare pretest and posttest achievement scores of subjects learning with WBI for review on integer system. The sample consisted for grade 7 students in Noppitam Wittaya School year 2017 by the cluster random sampling 2 classes overall 70 students. The research instruments included a WBI for review on integer system, a quality assessment form, a learning achievement test (with p = 0.35-0.68, r = 0.24-0.59, and KR-20 = 0.88). The data were analyzed by using mean ( gif.latex?\bar{X}), standard deviation (S) and t-test for dependent samples


    The result showed that the quality of WBI for review on standard of network connectivity were at a high level ( gif.latex?\bar{X}= 4.58, S = 0.50) in the aspect of the lesson content and also the media production (gif.latex?\bar{X} = 4.33, S = 0.61) with the efficiency of 81.11/82.67. The results of learning achievement tests showed that the post-test scores (gif.latex?\bar{X} = 24.20, S = 3.44) of the students were significantly higher than the pre-test scores ( gif.latex?\bar{X}= 13.77, S = 4.04)

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)
Author Biography

วรรษมล ชนะศิลป์, คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

นักศึกษาปริญญาโท  คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ (คอมพิวเตอร์)

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

References

กองบรรณาธิการ. (2545). การศึกษากับชุมชน. สานปฏิรูป, 3(6), 33.
จารุวรรณ จันทร์ทอง. (2551). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อทบทวน วิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, ฉะเชิงเทรา.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร ศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 2-12.
ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2551). การพัฒนาคอร์สแวร์และบทเรียนบนเครือข่าย. (พิมพ์ครั้งที่ 12).มหาสารคาม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ณัฐกร สงคราม. (2553). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
พิริยาพร พัฒนาพรพงศ์. (2550). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เรื่อง การหาร สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดสามัคคีศรัทธาราม เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.
พจนา โม่มาลา. (2555). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบแก้ปัญหา เรื่อง การประยุกต์ของ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดบัวงาม (โสภณปทุมรักษ์ประชาสรรค์). วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.
ไพโรจน์ ตีรณธนากุล ไพบูรณ์ เกียรติโกมล และเสกสรรค์ แย้มพินิจ. (2546). การออกแบบและการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสำหรับ e-Learning. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
มธุรส จงชัยกิจ. (2546). E-learning กับการเรียนการสอนในสถานศึกษา. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี, 31(123), 12-18.
มัลลิกา บ้งชมโพธิ์. (2557). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต วิชา คณิตศาสตร์ 1 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, อุบลราชธานี.
วรัญญู ต้นแก้ว. (2554). การพัฒนาสื่อหลายมิติแบบปรับตัวเพื่อทบทวน เรื่อง ระบบเลขฐานสอง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบางละมุง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.
สัณห์ศักดิ์ ศรีทองเพชร. (2551). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกและการลบ ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, กรุงเทพฯ.
แสงเดือน อิศรานันทศิริ. (2551). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การคูณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, ฉะเชิงเทรา.
Krathwohl, D., & Anderson, L. (2001). Current Trends and Future Practices for Digital Literacy and Competence. Italy: Russell A. Spangler.