การศึกษาคุณภาพน้ำดื่มจากจุดบริการน้ำดื่ม ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Main Article Content

ปิยวรรณ เนื่องมัจฉา
โสภนา วงศ์ทอง
พงศธร ปานทอง
นพมาศ จงสวัสดิ์วัฒนา

Abstract

The objective of this research was to study the quality of drinking water from drinking water service point in Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. The samples were collected from 15 points of drinking water various service points during three months from June to August 2016. The physical, chemical and microbiological water quality were analyzed. Ten parameters including temperature, pH, turbidity, dissolved solids, hardness, iron, chloride, coliforms bacteria, fecal coliforms bacteria and E. coli. were evaluated. The results found that physical and chemical quality of water samples were according to the drinking water quality standards. For the results of the microbiological water quality; it was found that 7 points of samples were according to the drinking water quality standards which coliforms bacteria was <2 MPN/100 ml, fecal coliforms bacteria was <2 MPN/100 ml and E. coli. was none detectable. And 8 points of samples were exceeding to the drinking water quality standards which coliforms bacteria was between <2 to 2,400 MPN/100 ml, fecal coliforms bacteria was <2 to 920 MPN/100 ml and E. coli. was detected. (Drinking Water Standards Maximum Contaminant Levels are <2.2 MPN/100 ml of coliforms bacteria, <2 MPN/100 ml of fecal coliforms bacteria and non-detected E. coli.)

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2545). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 256) พ.ศ. 2545 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (ฉบับที่ 4). ค้นเมื่อ10 ตุลาคม, 2559, จาก: www.elib.fda.moph.go.th.
ธนาวัฒน์ รักกมล ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์ สุธีร์ อินทร์รักษา และวรวรรณินี ราชสงฆ์. (2555). คุณภาพน้ำดื่มจากเครื่องทำน้ำเย็นในมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 15(2), 18-26.
นรา ระวาดชัย และวรางคณา สังสิทธิสวัสดิ์. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพน้ำดื่มจากตู้หยอดเหรียญอัตโนมัติ. วารสารวิจัย มข., 17(3), 480-492.
นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์. (2550). หลักการการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประกรณ์ เลิศสุวรรณไพศาล. (2549). การวิเคราะห์คุณภาพน้ำดิบและน้ำดื่มชนิดฝาปิดสนิท ตราทะเลแก้ว. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
มั่นสิน ตัณฑุลเวศน์. (2542). วิศวกรรมการประปา เล่ม 1. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรางคณา สังสิทธิสวัสดิ์ และสมศักดิ์ พิทักษานุรัตน์. (2554). การปนเปื้อนโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำดื่มของครัวเรือนชนบท. วารสารวิจัย มข., 16(8), 1025-1035.
วริศรา ปีอาทิตย์ และอลงกรณ์ วงศ์หมั่น. (2557). คุณภาพน้ำดื่มจากเครื่องผลิตน้ำดื่มหยอดเหรียญ. ปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.
สัมพันธ์ พลันสังเกต วรากร วิศพันธ์ และวิภา พลันสังเกตุ. (2545). คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำเพื่อการประปาของ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง. สงขลา: ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อังสนา ฉั่วสุวรรณ์. (2552). การตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่ม. ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2559, จาก: www.dss.go.th/ dssweb/st-articles/.../cp_1_2547_water_drink.pdf.
Parson, T. R., Maita, Y., & Lalli, C. M. (1989). A Manual of Chemical and Biological Methods for Seawater Analysis. (3th ed). England: Pergamon Press.
U.S.EPA. (1992). Guidelines for Exposure Assessment. Washington, D.C.: U.S. Environmental Protection Agency