การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของคอนกรีตบล็อกผสมเถ้าชานอ้อยและเถ้าซังข้าวโพด
Main Article Content
Abstract
As the large amount of bagasse and corn cob, this could be the source of pollution if they are utilized. This study aims to study the mechanical properties of concrete block from bagasse ash and corn cob ash. There are investigated parameters which are compression and water absorption. The ratio of bagasse ash and corn cob ash was varied from 0-40 percent of the concrete. This mixed concrete size is 7x39x19 cm. These samples were incubated around 28 days before tested their compression and water absorption properties. It was found that the concrete block could be replaced around 25 and 22.5 percent of ashes and the compressions are 127.77 and 130.78 ksc, respectively. The water absorption properties of those two mixing ratio are 9.77 percent and 7.94 percent, respectively. It could be concluded bagasse ash and corn cob ash could be used as alterative material for concrete block. The mixed concrete block provide the compression value higher than the TIS 58-2533 requirement of concrete blocks without absorb weight at 25 ksc.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2530). มาตรฐานอุตสาหกรรม: คอนกรีตบล็อกไม่รับน้ำหนัก มาตรฐาน เลขที่ มอก.58/2530. กรุงเทพฯ: ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1295.
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2533). มาตรฐานอุตสาหกรรม: คอนกรีตบล็อกไม่รับน้ำหนัก มาตรฐาน เลขที่ มอก.58/2533. กรุงเทพฯ: ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1619.
ชัยยันต์ ทรัพย์ทวี อดิสรณ์ พงษ์สุวรรณ และดำเนินภร คงพาลา. (2556). บล็อกซีเมนตผสมซังข้าวโพด. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, (ฉบับพิเศษ), 538–545.
นฤมล อัศวเกศมณี. (2559). การใช้ผักตบชวาแห้งเป็นอาหารสมทบสำหรับเลี้ยงปลาตะเพียนขาว. วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 35(1), 70-78.
ประเสริฐ ศิรินรานันตร์. (2557). การออกแบบส่วนผสมมอร์ต้าร์โดยหลักการมวลรวมละเอียดมีรูปร่างทรงกลมและกรณีศึกษา. วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรังสิต, 17(2), 1-8.
ศักดิ์สิทธิ์ ศรีแสง อุปวิทย์ สุวคันธกุล และสุดใจ เหง้าสีไพร. (2550). การศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุผสมสำหรับคอนกรีตบล็อกชนิดไม่รับนำหนักทีมีส่วนผสมของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ทราย และเส้นใยมะพร้าว. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 1(1), 77–87.