การพัฒนาแอปพลิเคชั่นคำศัพท์ภาษาอังกฤษในรูปแบบมัลติมีเดีย บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were 1) to develop and find out efficiency of English vocabulary application in multimedia formats on android operating system. 2) to compare the students’ achievement gained before and after learning English vocabulary application. And 3) to study the satisfaction of students who study English vocabulary application in multimedia formats on android operating system. The program displays information in multimedia format. The content will display information, pictures, Thai and English vocabularies of home appliances and games for reviewing vocabulary knowledge. There will be both English spoken and Thai translation. This application is used adobe flash cs6 and action script 3.0 for developed. The samples for this study were 20 students, grade 4 from Ban Huai To school by using simple random sampling method. Statistics used in data analysis were mean, standard deviation, E1/E2 and t-test. The results show that the efficiency of the application (E1/E2) is 80.75/88.25, which is higher than the 80/80 threshold. The learning achievement of students, after the learning higher than before learning was significantly at 0.05 level. Student satisfaction assessment for developed applications has the mean score was 4.51, which was the highest level.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
กฤศวรรณ ประเสริฐสิทธิ์ และกัญญา วงศ์ไพศาลสิน. (2559). การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนเสริม วิชาคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที 4 ของโรงเรียนวัดเมตารางค์ ตำบลเชียงรากน้อย อำเภอสามโคก จังหวัดประทุมธานี. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 12(2), 65-74.
ดาราวรรณ นนทวาสี วิวัฒน์ มีสุวรรณ์ และเอกสิทธิ์ เทียมแก้ว. (2557). การพัฒนาแอปพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ กรณีศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนทาขุมเงินวิทยาคาร จังหวัดลำพูน. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15. (หน้า 2182-2191). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นัทรียา สงใย และ วงกต ศรีอุไร. (2558). การพัฒนาสื่อการเรียนเรื่องการจราจรทางบกบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. ใน The Tenth National Conference on Computing and Information Technology (NCCIT 2014). (หน้า 413-418). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ภัคภร แก่นสูงเนิน. (2556). ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเส้นสีแสงเงา วิชาศิลปะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.
รมณียา สุรธรรมจรรยา. (2559). ผลการใช้แอปพลิเคชั่นสำหรับสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษบนแท็บเล็ตวิชาภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(2), 1030-1045.
วิลัยพร ไชยสิทธิ์. (2555). การพัฒนาแอปพลิเคชั่นฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. ราชบุรี: สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2557). รายงานประจำปี 2557. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2559, จาก: https://www.niets.or.th/uploads/content_pdf/pdf_1438068312.pdf.