Effect of Glutaraldehyde and Cassava Starch on Properties and Phosphorus Releasing of Chitosan Hydrogel Fertilizers ผลของกลูตารัลดีไฮด์และแป้งมันสำปะหลังต่อสมบัติและการปลดปล่อยฟอสฟอรัสของปุ๋ยไคโตซานไฮโดรเจล
Main Article Content
Abstract
This research studied the synthesis of chitosan hydrogel fertilizer to control phosphorus releasing by using glutaraldehyde as a crosslinking. The effect of glutaraldehyde, cassava starch, time, and pH toward morphology confirmation, swelling, and phosphorus releasing were studied. The results showed that the optimum conditions were glutaraldehyde (2.5 %w/v) 8 mL, cassava starch (1 %w/v) 50 mL, at pH 7 for 16 days. In addition, hydrogel fertilizer which had a lot of cassava starch showed uneven skin and general cracks. Conversely, hydrogel fertilizer with less cassava starch had widespread small porosity. Furthermore, the swelling in the deionized water showed that chitosan hydrogel fertilizer with less cassava starch had more swelling percentage. Moreover, phosphorus releasing of chitosan hydrogel fertilizer which did not add cassava starch released more phosphorus than their added.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
จารุวรรณ วรรณประเสริฐ, ศุภชัย อําคา และธงชัย มาลา. (2556). ผลของปุ๋ยไนโตรเจนละลายช้า และปุ๋ยเคลือบสารยับยั้งกระบวนการไนตริฟิเคชันต่อการเจริญเติบโตของพริกหวานและ ไนโตรเจนอนินทรีย์ในชุดดินกําแพงแสน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2(2), 46-63.
ชินาลัย พริ้งเพราะ และเบ็ญจพร กุลนิตย์. (2561). ผลของการเคลือบปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและ ผลิตผลของธัญพืช. วารสารเกษตรพระวรุณ, 15(1), 1-16.
ทองใส จำนงการ. (2552). Micro-reservoir: A novel gel-based controlled release of fertilizer. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
ธงชัย มาลา อรรถศิษฐ์ วงศ์มณีโรจน์ ศุภชัย อำคา สิรินภา ช่วงโอภาส ดุสิต จิตตนูนท์ และไชยา บุญเลิศ. (2556). ผลของปุ๋ยไนโตรเจนละลายช้าที่มีต่อสมบัติบางประการของดิน และ การเจริญเติบโตของกล้ามะเขือเทศ. แก่นเกษตร, 41(2), 121-134.
นิษฐา คูหะธรรมคุณ และสายันต์ แสงสุวรรณ. (2560). ปุ๋ยควบคุมการปลดปล่อยยูเรียเพื่อประยุกต์ใช้
ในทางเกษตรกรรม. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 19(3), 32-44.
รัดเกล้า ภูติวรนาถ. (2539). การเกิดโครงร่างตาข่ายของแผ่นฟิล์มไคโตแซนโดยการใช้กลูตารัลดีไฮด์เป็นสารช่วยในการเกิดโครงร่างตาข่าย.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
วารุณี ตานันต์ และสายันต์ แสงสุวรรณ. (2557). พอลิเมอร์ดูดซับน้ำได้มาก: การสังเคราะห์ การ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี, 16(2), 63-81.
สุปราณี แก้วภิรมย์. (2562). ปุ๋ยเคมีชนิดควบคุมการปลดปล่อยได้. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2562, จาก: https://www.thailandtechshow.com/view_techno.php?id=152.
อภิสรา ศรีสายหยุด และอภินันท์ สุทธิธารธวัช. (2554). การเตรียมผงแป้งที่ถูกเชื่อมขวางโมเลกุล ผ่านการอบแห้งแบบพ่นฝอย. ใน การประชุมวิชาการนานาชาติ “วิศวกรรมเคมี และเคมี ประยุกต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 21 (หน้า 1-5). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อัจจิมา สุทธิชูจิต. (2560). ผลของกลูตารัลดีไฮด์ต่อสมบัติของเทอร์โมพลาสติกสตาร์ชจากแป้งท้าว ยายม่อม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.
Akakuru, O.U. and Isiuku, B.O. (2017). Chitosan hydrogels and their glutaraldehyde-crosslinked counterparts as potential drug release and tissue engineering systems-synthesis, characterization, swelling kinetics and mechanism. Journal of Physical Chemistry and Biophysics, 7(3), 1-7.
Phromsopha, T. and Baimark, Y. (2014). Preparation of starch/gelatin blend microparticles by a water-in-oil emulsion method for controlled release drug delivery. doi.org/10.1155/2014/829490. International Journal of Biomaterials 2014, Article ID 829490, 1-6.