The Appropriate Conditions for Preparation and Adsorption Capacity of Activated Carbon from Nypa Palm Cigarette Manufacturing Residues สภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมและความสามารถในการดูดซับของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากวัสดุเหลือใช้ในการผลิตใบจากมวนยาสูบ
Main Article Content
Abstract
The use of Nipa Palm for producing Nipa Palm leaves for rolled tobacco or other activities resulted in a large amount of residues and caused problems in the management of the remains from Nipa Palm or residues. The objectives of this research were to produce the activated carbon from Nipa Palm’s stalk and stick residues and to study the adsorption abilities of the activated carbon. The carbonization process was determined by heat at temperature of 300-500๐C for 30-150 minutes and activated by using the ratio of sample to Zinc (II) Chloride 1:1 at 500-700๐C for 60-120 minutes. The results showed that the stalk residues charcoal powder which carbonized at 400๐C for 150 minutes and activated by using the ratio of sample to Zinc (II) Chloride 1:1 at 500๐C for 90 minutes was given the highest iodine adsorption capacity of 771.58±2.78 mg/g. Percentages of moisture content and ash content were 0.27±0.01 and 0.74±0.04 respectively. A percentage of Methylene blue adsorption capacity was 59.30±0.91. Therefore, the activated carbon obtained from stalk residues at 500๐C for 90 minutes showed a good condition for producing activated carbon with adsorption capacity because of the highest iodine adsorption capacity which indicated the highest porous properties of activated carbon. The activated carbon showed the iodine adsorption capacity higher than 600 mg/g with percentage of moisture content and ash content were less than 8 and 6 respectively, according to the Thai Industrial Standards Institute, TISI.900-2004.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
กิติโรจน์ หวันตาเหลา ชยาภาส ทับทอง และสินศุภา จุ้ยจุลเจิม. (2550). การดูดซับสีย้อมผ้าด้วยถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากถ่านหินและกะลามะพร้าว. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(2), 104-112.
เกตศิริ เหล่าวชิรสกุล. (2552). การเตรียมและศึกษาคุณสมบัติของถ่านกัมมันต์จากกากกาแฟโดยวิธีการกระตุ้นทางเคมี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 29(2), 116-131.
จักรกฤษณ์ อัมพุช ฐิตาพร คาภู นันทกานต์ ทองเฟื่อง สุจิตรา แก้วศิริ อิทธิศักดิ์ เภาโพธิ์ ไท แสงเทียน และพุทธพร แสงเทียน. (2560). การดูดซับสีย้อมรีแอ็คทีพแบล็ค 5 บนถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากผักตบชวา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 19(1), 163-177.
จันทิมา ชั่งสิริพร พรศิริ แก้วประดิษฐ์ และพฤกระยา พงศ์ยี่หล้า. (2559). การผลิตถ่านกัมมันต์จากถ่านไม้ยางพาราที่ได้จากโรงไฟฟ้าชีวมวลสำหรับงานเครื่องกรองน้ำ. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์.
จารุวรรณ คําแก้ว ประสิทธิ์ รุ่งเรือง และนรารัตน์ ทองศรีนุ่น. (2561). การเตรียมถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือทิ้งต้นสาคูเป็นตัวดูดซับสําหรับกําจัดไอออนตะกั่วจากสารละลาย. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
ไชยยันต์ ไชยยะ ปทุมทิพย์ ต้นทับทิมทอง และวราภรณ์ ธนะดุลรังสรรค์. (2552). อิทธิพลของสารกระตุ้นที่มีต่อหมู่ทำหน้าที่และประสิทธิภาพในการดูดซับของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากเปลือกเมล็ดยางพารา. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.
ธีรดิตถ์ โพธิตันติมงคล. (2560). ถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดยการกระตุ้นทางเคมี เพื่อการประยุกต์ใช้กำจัดสารมลพิษในนํ้า. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 8(1), 196-214.
พชรวรรณ อึ้งศิริสวัสดิ์ และเฉลิม เรืองวิริยะชัย. (2559). การดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูโดยใช้เปลือกหน่อไม้แห้ง. ใน The national and international graduate research conference 2016 (หน้า 343-350). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
รวินิภา ศรีมูล. (2559). การบําบัดสีย้อมในน้ำเสียด้วยกระบวนการดูดซับ. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 44(3), 419-434.
รุจิรา ปิ่นแก้ว. (2556). การผลิตและการเตรียมถ่านกัมมันต์จากซังข้าวโพดเพื่อใช้ในการดูดซับมีเทน. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
วิรังรอง แสงอรณุเลิศ. (2558). การดูดซับสีย้อมผ้าด้วยถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากเปลือกไข่และเปลือกหอยแครงโดยวิธีกระต้นทางเคมี. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 7(7), 97-110.
สุวิทย์ ทองทรัพย์ สุดปรารถนา ถิราติ มินตรา บุญลัญชัยกุล ปวีณา พลัดพราก และจุไรวัลย์ รัตนะพิสิฐ. (2559). การดูดซับเมททิลีนบลูของถ่านกัมมันต์จากขี้เลื่อยไม้มะพร้าว. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 4(2), 51-61.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2547). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 900-2547 ถ่านกัมมันต์. กระทรวงอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ.
อรดี ฤทธิชัย และศศิธร มั่นเจริญ. (2557). การกำจัดสีย้อมในน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมสิ่งทอด้วยถ่านกัมมันต์จากเปลือกปู. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 19(1), 131-140.
ASTM. Annual book of american society for testing and materials standard. (2011). Standard Test Method for Moisture in the Analysis Sample of Coal and Coke ASTM D3173-11.
ASTM. Annual book of american society for testing and materials standard. (2011). Standard test method for ash in the analysis sample of coal and coke ASTM D3174-11.