Nutrition Status and Nutrition Knowledge of the Elderly in Chamai Municipality, Nakhon Si Thammarat ภาวะโภชนาการและความรู้ด้านโภชนาการในผู้สูงอายุพื้นที่เทศบาล ตำบลชะมาย จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

Jutaporn Limsuwanmanee
Puangrat Jinpon
Manita Jueboon

Abstract

This is a survey research. The objective was to assess the nutritional status and nutrition knowledge of the elderly in Chamai municipality, Thung Song district, Nakhon Si Thammarat province. An accidental sample of 323 elderly data were collected between February and May, 2018. The instrument used in this research was a questionnaire. The research found that the majority of the elderly were female, age between 60-69 years, with normal nutrition (51.1%), euglycemia (39.9%), hypertension (55.8%), with low nutrition knowledge (77.1%). When considering personal factors, it was found that male and female elderly had significantly different nutritional status and blood glucose levels, whereas blood pressure levels and nutrition knowledge were not significantly different. In addition, the elderly with different age groups had significantly different nutritional status and nutrition knowledge, whereas blood glucose levels and blood pressure levels were not significantly different. It was found that age ranges positively correlated with nutritional status but negatively correlated with blood glucose levels, blood pressure, and nutrition knowledge. The results about nutrition knowledge found that most of the elderly had a low level of knowledge. When considering the relationship between nutrition knowledge and health factors, it was found that nutrition knowledge had a significantly low negative relationship with nutritional status (R2 =-0.002), blood glucose (R2= -0.036), and blood pressure (R2= -0.024) levels. Therefore, public health organizations in the area should disseminate knowledge about food consumption through various channels that the elderly can easily access for good nutritional status of the elderly.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กิตติกร นิลมานัต ขนิษฐา นาคะ วิภาวี คงอินทร์ เอมอร แซ่จิว พัชรียา ไชยลังกา และปิยะภรณ์ บุญพัฒน์. (2556). ภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารสภาการพยาบาล, 28(1), 75-84.

กู้เกียรติ เวียงหฤทัย มาริษา ภู่ภิญโญกุล และสุรชัย จิวเจริญสกุล. (2558). ภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุในอำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารคหเศรษฐศาสตร์, 58(1), 4-14.

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2559). นโยบายกรมกิจการผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2562, จาก: http://www.dop.go.th/download/knowledge/knowledge_th_20170707092742_1.

ชโลบล เฉลิมศรี และวีรศักดิ์ เมืองไพศาล. (2557). การจัดการภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2551). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. นนทบุรี: เอส อาร์ พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.

เนตรดาว ตันตรานนท์. (2558). ความรู้ทางโภชนาการ ภาวะโภชนาการและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลสันทราย อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่

บรรลุ ศิริพานิช. (2550). รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2550. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2562, จาก: http://www.dop.go.th/download/knowledge/knowledge_th_20160106142611_1.

พุทธิพร พิธานธนานุกูล และภิรมย์ รชตะนันท์. (2562). ภาวะโภชนาการและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 22(1). 1-13

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาลัยมหิดล. (2560). ประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2560. สารประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล, 25(1), 1-2.

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2558). สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2562, จาก: http://www.thaihypertension.org/.

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. (2554). แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน 2561, จาก: http://www.dms.moph.go.th/dmsweb/cpgcorner/54-22.pdf.

สุดารัตน์ อิศราวิศวกุล. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกายกับความรู้เรื่องหลักการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต (กิจกรรมบำบัด). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุทธิชัย จิตะพันธ์. (2544). หลักสําคัญของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สมจิตร มาตยารักษ์ และผ่องพรรณ อรุณแสง. (2557). ภาวะโภชนาการและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุเจ็บป่วยเรื้อรังที่มารับบริการคลินิกโรคไม่ติดต่อแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลทุติยภูมิแห่งหนึ่ง. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 32(4), 152-161.

สรญา แก้วพิทูลย์ และณัฏฐวุฒิ แก้วพิทูลย์. (2555). ภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุในจังหวัดสุรินทร์ รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). รายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2559. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น.

สำนักงานส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2560). เกณฑ์กำหนดผู้สูงวัยพึงประสงค์. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2562, จาก: http://hp.anamai.moph.go.th/soongwai/statics/about/soongwai/topic003.

Bloom, B.S., Madaus, G.F. and Hastings, J.T. (1971). Hand book on formative and summative evaluation of student learning. New York: Mc Graw-Hill Book Company.

Chiu, H.C., Chang, H.Y., Mau, L.W., Lee, T.K. and Liu, H.W. (2000). Height, weight and body mass index of elderly persons in Taiwan. Journal of Gerontology: medical sciences, 55(11), 684-690.

Huang, P.C, Yu, S.L., Lin, Y.M. and Chu, C.L. (1992). Body weight of Chinese adults by sex, age and body height and criterion of obesity based on body mass index. Journal of the Chinese Nutrition Society, 17(1), 157-172.

Riyami, A.A., Hadabi, S.A., Abd El Aty, M.A., Kharusi, H.A., Morsi, M. and Jaju, S. (2010). Nutrition knowledge, beliefs and dietary habits among elderly people in Nizwa, Oman: implications for policy. Eastern Mediterranean Health Journal, 16(8), 859-867.

Yamane, T. (1970). Statistics-an introductory analysis. (2nd ed). Tokyo: John Weather Hill, Inc.