Effects of Gamma Irradiation on the Growth and the Yield of Asiatic Pennywort (Centella asiatica L. Urb.) Grown in Ubon Ratchathani Province ผลของรังสีแกมมาต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบก แหล่งปลูกอุบลราชธานี
Main Article Content
Abstract
The objective of this study was to breed Asiatic pennywort for high yield. The experimental design was a randomized complete block design (RCBD) consisting of 6 treatments with 3 replications. Asiatic pennywort from Ubon Ratchathani province was acutely irradiated by gamma rays with doses of 0, 20, 40, 60, 80, and 100 gray, then planted in the experimental plot. The growth was recorded for 60 days, and yield was collected 80 days after planting. The results showed that higher doses of gamma-rays decreased the survival rate and growth of the plants. The plants survived at the LD50 of gamma radiation which was 80.98 gray. At gamma rays of 60 gray, the number of stolons, the number of plants per stolon, and the length of stolon were the highest with 6.50 stolons, 6.70 plants, and 51.40 cm, respectively. In addition, the gamma-ray concentration of 60 gray resulted in the highest fresh weight and dry weight of 43.91 and 3.98 grams, respectively.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
ธนภูมิ ศิริงาม และวาสินี พงษ์ประยูร. (2563). ผลของรังสีแกมมาต่อเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ด การเจริญเติบโตและการรอดชีวิตในข้าวพันธุ์ กข47. Thai Journal of Science and Technology, 9(4), 1-9.
นฤมล นอยหวอย. (2551). ผลของตัวทำละลายที่ใช้สกัดและการแปรรูปต่อคุณสมบัติการต้านออกซิเดชันและสารประกอบกลุ่มไตรเทอร์ปีนในบัวบก (Centella asiatica (Linn.) Urban). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
พีรนุช จอมพุก. (2553). เทคโนโลยีนิวเคลียร์กับการเกษตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ภิญญารัตน์ กงประโคน และนัททรียา จิตบำรุง. (2560). การใช้รังสีแกมมาชักนำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาในกุหลาบหนู. แก่นเกษตร, 45(1)(พิเศษ), 1296-1302.
ศรัญญู ถนิมลักษณ์ ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์ พัฒนา สุขประเสริฐ พีรนุช จอมพุก และอนันต์ พิริยะภัทรกิจ. (2561). การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในบานไม่รู้โรยลูกผสมพันธุ์กลายโดยการฉายรังสีแกมมา. Thai Journal of Science and Technology, 7(1), 48-57
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร. (2563). สถานการณ์การผลิตพืช 2563. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2563, จาก: http://www.agriman.doae.go.th/home/news/2563/51-52.pdf.
สิรนุช ลามศรีจันทร์. (2540). การกลายพันธุ์ของพืช. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุกัญญา จันทร์สุนะ ลลิตา เจริญทรัพย์ เยาวพา จิระเกียรติกุล และพรชัย หาระโคตร. (2563). ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการอบแห้งต่อปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระและความสามารถในการยับยั้งอนุมูลอิสระของใบบัวบก. Thai Journal of Science and Technology, 28(12), 2262-2272.
สุดสายชล หอมทอง และณัฐวดี คงคะคิด. (2562). การตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียและ Escherichia coli ในน้ำมะตูม น้ำดอกอัญชัน และน้ำใบบัวบก บริเวณใกล้กับมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 38(1), 79-90.
สุพิชชา สิทธินิสัยสุข ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์ พีรนุช จอมพุก และณัฐพงค์ จันจุฬา. (2561). ผลของรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อต้นลินเดอร์เนียในสภาพปลอดเชื้อ. Thai Journal of Science and Technology, 7(2), 158-168.
อนันต์ พิริยะภัทรกิจ พรกมล รูปเลิศ กนกอร อัมพรายน์ และณัฐพงค์ จันจุฬา. (2562). การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของบัวบกสายพันธุ์ต่าง ๆ. Thai Journal of Science and Technology, 8(1), 1-12.
Cheema A.A. and Atta, B.A., (2003). Radiosensitivity studies in basmati rice. Pakistan Journal of Botany, 35(2), 197-207.
Gang, L., Xiaoying, Z., Yijing, Z., Qingcheng, Z. Xun, X. and Jiashu, C. (2007). Effect of radiation on regeneration of Chinese narcissus and analysis of genetic variation with AFLP and RAPD markers. Plant Cell, Tissue and Organ Culture, 88(3), 319-327.
Guiyun, D., Weidong, P. and Gongshe, L. (2006). The analysis of proteome changes in sunflower seeds induced by N+ implantation. Journal of Biosciences, 31, 247-253.
Mokobia, C.E. and Anomohanran, O. (2005). The effect of gamma irradiation on the germination and growth of certain Nigerian agricultural crops. Journal of Radiological Protection, 25(2), 181-188.
Park, J.H., Choi, J.Y., Son, D.J., Park, E.K., Song, M.J., Hellström, M. and Hong, J.T. (2017). Anti-Inflammatory effect of titrated extract of Centella asiatica in phthalic anhydride-induced allergic dermatitis animal model. International Journal of Molecular Sciences, 18(4), doi: https://doi.org/10.3390/ijms18040738.