ความรู้และทัศนคติที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูงตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

Main Article Content

อร่าม อามีเราะ
อมรศักดิ์ โพธิ์อ่ำ

Abstract

The descriptive research study aimed to study knowledge and attitude associated with self-care behavior among hypertension patients in Kohsathon sub-district, Takbai district, Narathiwat province. Population was 625 hypertension patients, and sample size calculating used Daniel formula for 258 cases, Data were collected by developed questionnaires. In addition to, validity was checked by three experts and try out testing reliability by cronbach alpha coefficient about 0.85, an association analysis used Pearson product moment correlation coefficient. The result shown that knowledge factors had mean score with moderate level for 58.1% (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{X}=1.77, S.D.=0.60), an attitude had mean score with high level for 65.5% (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{X}=2.66, S.D.=0.48). Moreover, self-care behavior among hypertension patients had mean score with moderate level for 60.9% (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{X}=2.39, S.D.=0.49). An association analyzed found that knowledge factors and attitude factors were associated with self-care behavior among hypertension patients in Kohsathon sub-district, Takbai district, Narathiwat province with statistic significant (r=0.192, P-value<0.001, r=0.172, P-value=0.006) respectively.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

ณัฐพร อยู่ปาน พัชรี ดวงจันทร์ และพนิดา แจ่มผล. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคม ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมกรดูแลตนเองและความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในอำเภอเมือง จังหวัดนครนายก. วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ, 10(1), 10-18.
ถาวร มาต้น. (2557). การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตจังหวัดสุโขทัย.
นิตยา นิยมการ และนิรัตน์ อิมามี. (2552). ความรู้ การรับรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กของผู้ปกครองศูนย์เด็กเล็ก ตำบลพังราด อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วารสารสุขศึกษา, 34(119), 38-48.
เนาวรัตน์ จันทานนท์ บุษราคัม สิงห์ชัย และวิวัฒน์ วรวงษ์. (2554). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 16(6), 749-758.
ปฐญาภรณ์ ลาลุน. (2554). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรม โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา มหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ.
ปุณยวีร์ ประเสริฐไทย จอม สุวรรณโณ และจิราภรณ์ สรรพวีรวงศ์. (2553). ผลของการออกกำลังกายขนาดความหนักปานกลางที่บ้านในการลดความดันโลหิตของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตเกือบสูง. วารสารสภาการพยาบาล, 25(4), 80-95.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะท้อน จังหวัดนราธิวาส. (2558). ทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลเกาะสะท้อน ปี 2556-2558.
วัจน์กร ธรรมวณิชย์ ศุภโชค อมรศิริกุล พลอยฉัตร อิงสกุลรุ่งเรือง และอภิญญา พูลหลวง. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพกับสภาวะปริทันต์ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดบุรีรัมย์. การประชุมวิชาการทันตสาธารณสุข ครั้งที่ 2 ปี 2556 “มหกรรมตำบลฟันดี”. กรุงเทพมหานคร.
สมใจ จางวาง เทพกร พิทยภินัน และนิรชร ชูติพัฒนะ. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประชาชนกลุ่มเสี่ยง. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 3(1), 110-128.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2558). รายงานประจำปี 2558. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behavior. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Best, J. W. (1977). Research is Evaluation. (3rded). Englewod cliffs: N.J. Prentice Hall.
Bloom, B. S. (1975). Taxonomt of Education. New York: David McKay Company Inc.
Daniel, W. W. (2010). Biostatistics: Basic Concepts and Methodology for the Health Sciences. (9th ed). New York: John Wiley & Sons.
Green, L. W., & Kreuter, M. W. (1991). Health Promotion Planning: An Educational and Environment Approach. California: Mayfield Publishing.
Thurstone, L. L. (1970). Reading in Attitude Theory and Measurement. New York: John Wiley and Sons Inc.
World Health Organization. (2011). Global status report on non-communicable diseases 2010. Geneva: World Health Organization.
World Health Organization. (2013). Global action plan for the prevention and control of Non-communicable diseases 2013-2020. Geneva: World Health Organization.