การพัฒนานวัตกรรมเก้าอี้ฟิกซ์แอนด์เฟลกซ์ (Fix & Flex) ตามหลักการยศาสตร์ สำหรับกลุ่มทำเครื่องเรือน จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

พงศ์เทพ วีระพงศ์

Abstract

บทความนี้นำเสนอแนวทางการสร้างสรรค์เฟอร์นิเจอร์ประเภทเก้าอี้แบบใหม่ที่ตอบสนอง ต่อตลาดเฟอร์นิเจอร์ในปัจจุบันของกลุ่มทำเครื่องเรือนวงล้อไม้ม้วนสายไฟถูกนำกลับมาใช้ใหม่และวัสดุหลัก ที่ใช้ในการในการพัฒนานวัตกรรมเก้าอี้ฟิกซ์แอนด์เฟลคซ์ตามหลักการยศาสตร์ที่เหมาะสมกับขนาด สรีระเฉลี่ยของคนไทยทั้งเพศชายและหญิงที่เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 50 โดยประกอบด้วย 4 ขั้นตอนการวิจัย ได้แก่ 1) วิเคราะห์บริบทต่างๆอย่างละเอียดลึกซึ้งเพื่อศึกษาคุณลักษณะผู้ใช้ 2) ระบุรายละเอียด ที่ต้องการจากผู้ใช้และความต้องการที่จำเป็นอื่น 3) การออกแบบและสร้างต้นแบบตามความต้องการ ของผู้ใช้ 4) การประเมินผลโดยเน้นผู้ใช้และความต้องการอื่นๆ ผลลัพธ์ของนวัตกรรมเก้าอี้ในงานวิจัยนี้ ต้องออกแบบและสร้างให้มีลักษณะโค้งมนมีรูปลักษณ์แนวโมเดิร์น จึงจะตรงกับความต้องการของตลาด มากกว่าแบบคลาสสิควิเคราะห์จากผลข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตลาดเฟอร์นิเจอร์จำพวกเก้าอี้เชื่อมโยง กับข้อมูลความต้องการจากผลการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้และผู้ที่เกี่ยวข้องเช่นมีความนิ่ม นุ่มสบายไม่เกิดแผลกดทับพนักพิงปรับเอนได้ง่ายและมีความปลอดภัยเป็นต้นนำมาสร้างสรรค์พัฒนา นวัตกรรมเก้าอี้ในการประเมินโดยผู้ใช้ด้วยเงื่อนไขต่างๆ เช่นรูปลักษณ์ภายนอกความสวยงามน่าใช้ สบายปลอดภัยและมีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเครื่องเรือนพบว่า อยู่ในระดับดีกว่าเก้าอี้ฟิกซ์แอนด์เฟลกซ์แบบเดิม

 

Innovative Development of Chair (Fix & Flex) using Ergonomics Method for Furniture Group in Nakhon Si Thammarat

This paper proposes an integrated ISO 13407 and interactively accessible novel chair specifically designed for Thai People. The features and functions are generated to please the desire today's furniture market users. The innovative chair Fix and Flex is developed to apply ergonomics for fitting the size of the body at the 50th percentile. This research is consisting of four stages; 1) analysis of context which deals with a thorough insight to the characteristics of the user 2) specify both the basic and essential needs of the users 3) designing and prototyping based on the user’s needs and 4) evaluation of user’s satisfaction.

The result reveals that the features of the new chair which was designed to generate a curved and round modern style that is consistent and appropriate anthropometric with the Thai people’s principle for ergonomics. A wooden wheel used as a wire roll, made from rubber wood that is fungus and moisture resistant, was reused as the main material in creating the product. The data obtained from the survey considered the context of potential users and engages with ideas and ergonomics. The result of the analysis was not only based on the users and stakeholders needs. In order to develop a creatively innovative chair, the users also evaluated the product considering various conditions like aesthetic qualities, comfort ability, and safety and consistency with the manufacturing technologies currently utilized in the furniture industry in creating a conventional chair.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)