การปรับปรุงกระบวนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ : กรณีศึกษาโรงงานขนาดเล็กในจังหวัดพัทลุง

Main Article Content

สันติ ขาตรี
ปิติ จันทรุไทย
ศรีวรรณ ขาตรี

Abstract

ในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันและการแข่งขันที่สูงขึ้น การลดต้นทุนในกระบวนการผลิตเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเป็นอย่างมาก โรงงานผลิตขนาดเล็กมีการนำวัตถุดิบมาจากแหล่งชุมชนเป็นส่วนใหญ่เพื่อนา มาผ่านกระบวนการผลิตปุ๋ยชีวภาพรวมถึงการมีนโยบายที่ส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เองในระดับไร่นา โดยการนา วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า ยังสามารถช่วยลดปริมาณนา เข้าปุ๋ยอินทรีย์ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการผลิตสินค้าเกษตร และเป็นการส่งเสริมนโยบายการขยายการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทยอีกด้วย แต่เนื่องด้วยปัจจัยหลายๆ อย่างที่ทา ให้ต้นทุนในการผลิตปุ๋ยชีวภาพค่อนข้างสูง ซึ่งในจังหวัดพัทลุงมีโรงงานผลิตปุ๋ยชีวภาพอยู่หลายแห่ง ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีการศึกษากระบวนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ โดยผู้วิจัยมีการคัดเลือกโรงงานเพื่อเป็นโรงงานตัวแทน จำนวน 1 โรงงาน หลังจากนั้นมีการวิเคราะห์ปัญหาด้านต่างๆ และวิเคราะห์กระบวนการผลิตโดยใช้ 1) แผนภูมิวิเคราะห์การไหลของกระบวนการผลิต 2) แผนภูมิพนักงาน-เครื่องจักร เพื่อปรับปรุงและลดขั้นตอนวิธีการทางานให้มีความเหมาะสมโดยใช้แนวคิด ECRS ซึ่งไม่ทา ให้คุณภาพของปุ๋ยเปลี่ยนแปลง ผลจากการวิจัยพบว่าโรงงานผลิตปุ๋ยชีวภาพหลายๆ แห่ง มีปัญหาใกล้เคียงกัน คือ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ยังไม่คุ้มค่า และเลือกโรงงานที่อยู่ในกลุ่มฟาร์มโคนม ต.เกาะเต่า อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง เป็นตัวแทนในการปรับปรุงกระบวนการผลิตขึ้นมา 1 โรงงาน โรงงานตัวแทนก่อนการปรับปรุงมีกระบวนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ จำนวน 4 กระบวนการ 17 ขั้นตอน หลังการปรับปรุงมีกระบวนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ลดลงเหลือ 7 ขั้นตอน และเวลาการทา งานทั้งหมด จากเดิม 2,715 วินาที ลดลงเหลือ 2,587 วินาที ส่วนระยะทางลดลงเหลือ 9.40 เมตร โดยมีพนักงานในกระบวนการผลิตจากเดิม 9 คนลดลงเหลือ 3 คน ซึ่งอัตราการผลิตไม่เปลี่ยนแปลงและมีจัดผังการปฏิบัติงานที่เหมาะสมสามารถทา งานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น


Process improvement for Biofertilizer : Case study of Small Factory in Phatthalung

 

Nowadays, the competition of many industries is drastically growing therefore a decrease of cost in manufacturing process is very important to be considered. Small factories used raw materials from community to produce the biofertilizer was support by the government’s policy. The raw materials used came from agricultural waste, the advantages were 1) reduce volume of biofertilizer import and 2) reduce volume of chemical fertilizer, and encouraged the expanding production policy of agricultural production in Thailand cause of many factors affected to highly value of production cost. But because multiple factors that the cost of biofertilizer production is relatively high in Phatthalung a biofertilizer plant in several places. Therefore, in this research we have studied the production of biofertilizer. The researcher has selected the plant to a factory representative of one plant after it has analyzed various issues. And analyzing manufacturing processes using 1) Flow chat 2) Man-machine chart to improve the performance and reduce the algorithm to be appropriate by the ECRS concept which does not change the quality of the biofertilizer. The results showed that the plant biotechnology has many similar problems is to use the available resources are not worth it. And select the plant in the dairy farm, Koh Tao, Papayorm, Phatthalung representation in the process produced one factory representative prior to updating the biofertilizer production process 4 process 17 steps after the update, is produced biofertilizer diluted to 7 steps and all the functions of the original 2,715 seconds down to 2,587 seconds, the distance is reduced to 9.40 meters, with a staff in the production process, from 9 down to 3 people that rate, unchanged and produce a proper mapping operations can work more convenient.

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Articles)