การผลิตไม้อัดจากต้นปาล์มน้ามันและการทดสอบสมบัติเชิงกล
Main Article Content
Abstract
มนุษย์รู้จักที่จะอยู่กับธรรมชาติเพราะมนุษย์กับธรรมชาติไม่สามารถที่จะแยกออกกันได้แต่เมื่อมนุษย์ได้เริ่มรู้จักการนา เอาสิ่งต่างๆ จากธรรมชาติมาใช้เพื่อดำรงชีพ ไม้ก็เป็นเครื่องอุปโภคที่จำเป็นต่อการสร้างที่อยู่อาศัยไม้อัดจากต้นปาล์มก็เป็นไม้ประเภทหนึ่งที่สามารถทดแทนการใช้ไม้ได้จากจำนวนประชากรที่มากขึ้นทุกขณะ การวิจัยในครั้งนี้ได้ทดสอบขนาดของเนื้อไม้ที่ ≥2.00-0.5, 0.5-0.84 และ ≤0.50 mm ร่วมกับสารเชื่อมประสานยูเรียฟอร์มัลดีไฮด์ (urea Formaldehyde ; UF) จากการศึกษาพบว่าคุณสมบัติเชิงกล คุณสมบัติการดัดโค้ง และการพองตัวที่ขนาดเนื้อไม้ที่ 0.5-0.84 และ ≤0.50 mm เป็นเนื้อไม้ที่ผ่านมาตรฐานของ EN 312 และ มอก.876-2547 ได้ ส่วนคุณสมบัติการซึมผ่านน้า ไม่ผ่านมาตรฐานทั้งสองตัว เพราะสารเชื่อมประสารไม่สามารถป้องกันการผ่านน้ำได้จากการวิจัยในครั้งนี้พอที่จะกล่าวได้ว่าไม้ปาล์มสามารถนา มาผลิตไม้อัดได้
Plywood production from Oil palm and Mechanical Properties testing
According to human history, they could be compatible with nature impartibly. After human knew how to get product from nature to sustenance themselves. Wood is one kind of the material that could get from the nature to meet the human need such as house and other necessaries of life. However, the over used real wood from the nature could be a crisis then the plywood from oil palm should be alternated.
Compounded-material wood which could be replaced the real wood but it was not all of wood product. Therefore, the understanding of wood size and cement material is needed. This research examined the size of wood at ≥ 2.00 – 0.5, 0.5 – 0.84 and ≤ 0.5 mm with urea-formaldehyde (UF). This research founded that the examined of mechanical qualification and bend test can pass the standard EN 312 and TIS 876-2547 at the wood size 0.5 – 0.84 and ≤ 0.50 mm For dilated qualification test could not pass the standard of EN 312 and TIS 876- 2547 because the cement material cannot prevent from water leakage. This research can be assumed that oil palm wood could be the plywood and can pass the standard of EN 312 and TIS 876-2547.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.