การตรวจสอบเปอร์เซ็นต์ความชื้นไม้ยางพาราแปรรูปด้วยเทคนิคสเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้

Main Article Content

สิรินาฏ น้อยพิทักษ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการทำนายค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้น (%db) ของไม้ยางพาราแปรรูป ด้วยการใช้เทคนิคสเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้ ด้วยเครื่อง Fourier transform near infrared spectrophotometer ช่วงเลขคลื่น 12489–3594 cm-1 (800-2700 nm) รูปแบบการวัดแบบสะท้อนกลับ (diffuse reflectance mode) สร้างสมการทำนายค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นด้วยวิธี Partial Least Squares Regression (PLSR) ผลการวิจัยพบว่าการนำค่าสเปกตราการดูดกลืนแสงมาทำการปรับแต่งทางคณิตศาสตร์ด้วยวิธี Second derivative ให้ผลของการทดสอบสมการทำนายสูงที่สุด มีค่า Rp2 เท่ากับ 0.95 ค่า RMSEP เท่ากับ 4.13%db และค่า RPD เท่ากับ 4.55 การใช้เทคนิคสเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้มาช่วยในการทำนายค่าเปอร์เซ็นต์ความชื้นของไม้ยางพาราแปรรูปที่ครอบคลุมไม้ยางพาราแปรรูปสด ไม้ยางพาราแปรรูปสดที่ถูกลดความชื้น และไม้ยางพาราแปรรูปอบแห้งนั้นสามารถตรวจสอบเปอร์เซ็นต์ความชื้นได้อย่างรวดเร็ว และที่สำคัญไม่ต้องทำลายตัวอย่างเพื่อหาเปอร์เซ็นต์ความชื้น

Article Details

บท
Post-harvest and food engineering

References

กรมสรรพากร. 2556. คู่มือแนะนาการชาระภาษีอากรกิจการโรงเลื่อยไม้ยางพารา. แหล่งที่มา: https://www.rd.go.th/ publish/47243.0.html, 31 มกราคม 2561.
จิรวัฒน์ ริยาพันธ์. 2556. คุณสมบัติทางเคมีและเชิงกลของไม้ยางพารา 7 โคลนพันธุ์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ฐิตาภรณ์ ภูมิไชย์, จิรวัฒน์ ริยาพันธ์, เฉลิมพล ภูมิไชย์, กรรณิการ์ ธีระวัฒนสุข, กฤษดา สังข์สิงห์. 2555. คุณสมบัติของไม้ยางพาราเพื่อการคัดเลือกพันธุ์ยาง. วารสารยางพารา 10, 34-44.
ทรงกลด จารุสมบัติ, ธีระ วีณิน, อำไพ เปี่ยมอรุณ. 2552.ผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพารา. แหล่งข้อมูล: https://kukr. lib.ku.ac.th/db/BKN_FOR/search_detail/result/309097. เข้าถึงเมื่อ 20 มกรคม 2561.
วรวรรธน์ นกน้อย, สิรินาฏ น้อยพิทักษ์, อนุพันธ์ เทอดวงศ์วรกุล. 2560. การทำนายปริมาณความชื้นไม้ยางพาราแปรรูปด้วยเทคนิคสเปกโทรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้. การประชุมวิชาการระดับประชาติ ครั้งที่ 14 ประจำปี 2560, 133-141. นครปฐม: อาคาศูนย์เรียนรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. 7-8 ธันวาคม 2560, กำแพงแสน, นครปฐม.
สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย. 2552. การศึกษาผลผลิตไม้ อัตราการแปรรูป คุณภาพและสมบัติของไม้ยางพาราพันธุ์แนะนำ 4 พันธุ์, แหล่งข้อมูล: https://www.rubberthai.com/news/newsinfo/2552/ news_June52/news_0502.htm. เข้าถึงเมื่อ 30 มกราคม 2561.
สาลินี ช่วยยก. 2557. ผลิตภาพและค่าใช้จ่ายในการทำไม้ยางพาราในจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2552. ไม้ยางแปรรูป. มอก. 2423-2552.
Adedipe, O.E. Dawson-Andoh, D. 2008. Predicting moisture content of yellow-poplar (Liriodendron tulipifera L.) veneer using near infrared spectroscopy. Journal of Forest Prod 58, 28-33.
American Society for Testing and Materials. 2000. Standard Test Methods for Small Clear Specimens of Timber. D 143-94.
Defo, M., Taylor, A.M. Bond, B. 2007. Determination of moisture content and density of fresh-sawn red oak lumber by near infrared spectroscopy. Journal of Forest Prod 57, 68-72.
Fujimoto, T., Kurata, Y., Matsumoto, K., Tsuchikawa, S. 2008. Application of near infrared spectroscopy for estimating wood mechanical properties of small clear and full length lumber specimens. Journal of Near Infrared Spectroscopy 16, 529-537.
Fujimoto, T., Kurata, Y., Matsumoto, K., Tsuchikawa, S. 2010. Feasibility of near-infrared spectroscopy for online multiple trait assessment of sawn lumber. Journal of Wood Science 56, 452-459.
Hodge, G.R., Woodbridge, G.R. 2010. Global near infrared models to predict lignin and cellulose content of pine wood. Journal of Near Infrared Spectroscopy 18, 367-380.
Meier, KJ., Brudney, JL., Bohte, J. 2014. Applied Statistics for Public and Nonprofit Administration. (8th ed.). Boston, USA: Wadsworth.
Mvondo, R.R.N., Meukam, P., Jeong, J., Meneses, D.D.S., Nkeng, E.G. 2017. Influence of water content on the mechanical and chemical properties of tropical wood species. Journal of Results in Physics 7, 2096-2103.
Osborne, B.G., Fearn, T., Hindle, P.H. 1993. Practical NIR spectroscopy with application in food and beverage analysis (2nd). Burnt Mill, Harlow: Longman Scientific and Technical.
Ramadevi, P., Meder, R., Varghese, M. 2010. Rapid estimation of kraft pulp yield and lignin in Eucalyptus camaldulensis and Leucaena leucocephala by diffuse reflectance near-infrared spectroscopy (NIRS). Journal of Southern Forests 72, 107-111.
Rowell, R.M. 2005. Handbook of Wood Chemistry and wood Composites. New York: Taylor and Francis.
Rubber Intelligence Unit. 2560. สถิติการส่งออกผลิตภัณฑ์ไม้ยางพารา. แหล่งข้อมูล: https://rubber.oie.go.th/ImEx ThaiByProduct.aspx?pt=ex&hgid=4. เข้าถึงเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2561.
Schwanninger, M., Rodrigues, J.C., Facker, K. 2011. A review of band assignments in near infrared spectra of wood and wood components. American Journal of Near Infrared Spectroscopy 19, 287-308.
Sundaram, J., Mani, S., Kandala, C.V.K., Holser, R.A. 2015. Application of NIR Reflectance Spectroscopy on Rapid Determination of Moisture Content of Wood Pellets. Journal of Analytical Chemistry 6, 923-932.
Tsuchikawa, S. 2007. A Review of Recent Near Infrared Research for Wood and Paper. Journal of Applied Spectroscopy Reviews 42, 43–71.
Watanabe, K., Mansfile, S.D., Avramidis, S. 2011. Application of near-infrared spectroscopy for moisture-based sorting of green hem-fir timber. Journal of Wood Science 57: 288-294.
Williams, P., Norris, K.H. 2001. Near-Infrared Technology: in the Agricultural and Food Industries. (2nd ed.). St. Paul, Minnesota: American Association of Cereal Chemists.