วิจัยและพัฒนาเครื่องปลูกกระชับสำหรับผลิตต้นอ่อน Research and development of Cocklebur planting machine in the seed plot
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิจัยและพัฒนาเครื่องปลูกกระชับสำหรับผลิตต้นอ่อน สามารถช่วยลดการใช้แรงงานคน ระยะเวลาการทำงาน และเพิ่มกำลังการผลิตในปลูกกระชับสำหรับผลิตต้นอ่อน เครื่องปลูกกระชับสำหรับผลิตต้นอ่อนมีขนาด (กว้างxยาวxสูง) 3x1x1.8 m ประกอบด้วยชุดหลัก 3 ชุดคือ ชุดโรยดิน ชุดโรยเมล็ดและชุดโรยทราย ใช้มอเตอร์ขนาด 0.75 kw เป็นต้นกำลังหลัก ผลการทดสอบพบว่า ชุดโรยดิน โรยเมล็ดและโรยทราย ทำงานที่ความเร็วรอบเหมาะสม 3.55 rpm, 5.96 rpm และ 2.13 rpm ตามลำดับ เครื่องต้นแบบมีความสามารถในการทำงาน 92 ถาดต่อชั่วโมง มากกว่าการใช้แรงงานคนปลูกประมาณ 13 เท่า มีอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า 1.54 kw hr-1 ใช้แรงงานประจำเครื่อง 1 คน ผลการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมได้ว่า การใช้เครื่องต้นแบบมีต้นทุนค่าใช้จ่าย 5.30 baht kg-1 มีจุดคุ้มทุนเมื่อปลูกกระชับเพื่อผลิตต้นอ่อน 123 kg year-1 และมีระยะเวลาคืนทุน 0.24 year
Research and development of rough cocklebur planters for producing sprout can reduce labor, working
time, and increase production capacity for producing sprout. The machine is 3x1x1.8 m (width x length x height)
and consists of 3 main sets: a soil sprinkling, seed sprinkling and sand sprinkling. It uses a 0.75 kW motor as the
main power source. The test results found that the optimum speed for the soil sprinkling, seed sprinkling and sand
sprinkling were 3.55 rpm, 5.96 rpm, and 2.13 rpm, respectively. The prototype has a working capacity of 92 trays
hr-1, which is about 13 times higher than labor method. The size and weight of the rough cocklebur sprout are not
significantly different. The electricity consumption rate is 1.54 kW hr-1. One worker is required to operate the
machine. 0.54 kg of rough cocklebur sprout are required tray-1. The economic engineering analysis shows that the
use of the prototype has a cost of 5.30 Baht kgseeds-1 and 2.86 Baht tray-1. The break-even point is reached when
123 kgseeds year-1 and 225 trays year-1. The payback period is 0.24 years.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย
Thai Socities of Agricultural Engineering
References
เกรียงไกร แซมสีม่วง, เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์. 2557. การออกแบบและสร้างเครื่องหยอดเมล็ดพันธุ์ผักคะน้าประสิทธิภาพสูงสําหรับการเพาะกล้า. วารสารวิชาการเกษตร32(2), 178-187.
ชุมชนคนรักษ์พรรณไม้. 2559. ผักกระชับ. แหล่งข้อมูล: https://www.facebook.com/ChumchnKhnRaksPhrrnMi/post
s/1213515792004110/. เข้าถึงเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565.
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. 2561. วิจัยและพัฒนาการปลูกกระชับ.แหล่งข้อมูล: https://d.dailynews.co.th/agriculture/643928/. เข้าถึงเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565