การวิเคราะห์ฮิสตามีนในปลาซาร์ดีนสดด้วยเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีช่วงความยาวคลื่นยาว
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อสร๎างแบบจ าลองการวิเคราะห์ฮิสตามีนในปลาซาร์ดีนสดด๎วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี โดยตรวจวัดสเปกตรัมของตัวอยํางปลาซาร์ดีน ด๎วยเครื่อง MICRO NIR Spectrometer ชํวงความยาวคลื่น 1150-2150 nm โดยใช๎ปลาซาร์ดีนสด sadinell longiceps จากประเทศจีน จ านวน 149 ตัว โดยลักษณะปลาที่ใช๎ในการสแกนมีดังตํอไปนี้ ปลาเต็มตัว (Intact fish) ปลาผําครึ่งเอาก๎างออก (Fillet) เนื้อปลาบด (Minced meat) และเนื้อปลาบดจะสแกนผํานแก๎ว (Minced meat with glass) จากนั้นน าข๎อมูลสเปกตรัมการดูดกลืนคลื่นแสงดั้งเดิมและที่ผํานการจัดการทางคณิตศาสตร์โดยวิธีตํางๆ ไปสร้างแบบจำลองในการทำนายปริมาณฮิสตามีนด้วยวิธี Partial least square regression (PLSR) พบวำแบบจำลองในการทำนายสามารถให้การทำานายปริมาณฮิสตามีนในเนื้อปลาบดและในเนื้อปลาบดที่สแกนผ่านแก้วได้ผลดีที่สุด โดยแบบจำลองทั้งสองได้มาจากการพัฒนาสเปกตรัมด้วยวิธี Smoothing 5 point+Derivative S. Golay 2 nd 11 point โดยมีค่า Coefficient of determination (R2), Standard error of prediction (SEP) และ Bias ของทั้งสองแบบจำลองเท่ากัน คือ 0.470, 27.209 และ 1.094 ppm ตามลำดับ โดยมี PLS factor เทํากับ 7 จากค่า R2 ระหว่าง 0.26-0.49 แสดงว่าความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเชิงแสงกับคําที่วัดโดยวิธี
มาตรฐานมีความสัมพันธ์ที่ไม่ดี อาจเป็นเพราะองค์ประกอบภายในของปลามีน้ำมาก ทำให้เกิดการบดบัง
พีคของฮีสตามีนซึ่งมีปริมาณน้อยมากในระดับ ppm
มาตรฐานมีความสัมพันธ์ที่ไม่ดี อาจเป็นเพราะองค์ประกอบภายในของปลามีน้ำมาก ทำให้เกิดการบดบัง
พีคของฮีสตามีนซึ่งมีปริมาณน้อยมากในระดับ ppm
Article Details
How to Cite
บท
Post-harvest and food engineering
สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย
Thai Socities of Agricultural Engineering