ผลของไคโตซานต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการงอกของเมล็ดและการเจริญของโพรโทคอร์มกล้วยไม้เอื้องเทียนสีส้ม (Coelogyne brunnea Lindl.)

Main Article Content

จุฑารัตน์ กรดสัน
ศุทธิณัฏฐ์ สุนทรกลัมพ์
ปวีณา แก้วอุบล

บทคัดย่อ

เอื้องเทียนสีส้ม (Coelogyne brunnea Lindl.) เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยที่มีดอกสีสันสวยงาม ปัจจุบันประชากรในธรรมชาติมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากการทำลายป่าซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและการลักลอบเก็บกล้วยไม้ออกจากป่า ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องดำเนินการขยายพันธุ์เพื่อการอนุรักษ์ การทดลองนี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของไคโตซานต่อการงอกของเมล็ดและการพัฒนาของโพรโทคอร์มเอื้องเทียนสีส้ม โดยนำฝักเอื้องเทียนสีส้มที่มีอายุ 6 สัปดาห์มาตรวจสอบความมีชีวิตของเมล็ดและพบความมีชีวิต 84.43% และนำเมล็ดเเอื้องเทียนสีส้มมาผ่านขั้นตอนการเตรียมเมล็ดโดยแช่ในน้ำกลั่นที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้วเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ จากนั้นนำเมล็ดเพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสังเคราะห์สูตร Murashige and Skoog medium (MS) (Murashige และ Skoog, 1962) ที่เติมไคโตซานความเข้มข้นต่างๆ คือ 0, 0.2, 0.4, 0.6, 0.8 และ 1% เป็นเวลา 10 สัปดาห์ บันทึกข้อมูลลักษณะการพัฒนาของโพรโทคอร์มทุกๆ 2 สัปดาห์ พบว่า อาหารที่เติมไคโตซานทุกระดับความเข้มข้นมีผลกระตุ้นการเจริญเติบโตของเมล็ด ทำให้เกิดการพัฒนาเป็นโพรโทคอร์ม โดยสูตรอาหารที่เติมไคโตซานความเข้มข้น 1% ทำให้เมล็ดมีอัตราการงอกของเมล็ดสูงที่สุด (93.14 ± 7.78%) ซึ่งสามารถจำแนกรูปแบบการงอกของเมล็ดได้ทั ้งหมด 5 ระยะ โดยโพรโทคอร์มส่วนใหญ่แสดงลักษณะของเอ็มบริโอที่ขยายขนาดและมีการพัฒนาส่วนยอดชัดเจน รวมทั ้งมีไรซอยด์จำนวนมาก ซึ่งเป็นระยะที่ 4 ของการเจริญ ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์หลังจากการเพาะเลี้ยง

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)

References

กุลนาถ อบสุวรรณ และกรกช สว่างศรี. 2553. ผลของไคโตซานต่อการเจริญเติบโตของกล้ วยไม้ Dendrobium Queen Pink. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 41: 477-480.

นรารัตน์ วัฒนาพันธ์, จรัสศรี นวลศรี, และอุปถัมภ์ มีสวัสดิ. 2559. ผลของสารจากธรรมชาติต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของกล้วยไม้รองเท้านารีม่วงสงขลา (Paphiopedilum callosum var. sublaeve). วารสาร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 3: 109-120.

วุฒิชัย ฤทธิ, บุญสนอง ช่วยแก้ว, ปรียาภรณ์ พรหมบางญวน, และศุภลักษณ์ ทักษิณ. 2559. ผลของไคโตซานต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของต้นอ่อนเอื้องรงรอง [Panisea uniflora (Lindl.) Lindl.] ในหลอดทดลอง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 3: 8-13.

สมพร ประเสริฐส่งสกุล และหาพิส ปุโรง. 2557. ผลของไคโตซานต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้เอื้องเงินหลวงในหลอดทดลอง. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 42: 127-134.

สุณิษา อยู่ดี และกุลนาถ อบสุวรรณ. 2552. ผลของไคโตซานต่อการเพาะเมล็ดกล้วยไม้สกุลช้างกระในหลอดทดลอง.วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 40: 309-312.

สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง และสาวิณี หนูสวัสดิ. 2555. ผลของไคโตซานต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้เอื้องจาปา ํ(Dendrobium moschatum) ในสภาพปลอดเชื้อ. น. 2206-2212. ใน: ประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 9 วันที่ 6-7 ธันวาคม 2555. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.

อัญจนา จันทร์ปะทิว, สิทธิโชค วีณะคุปต์, สุกัญญา แสนภักดี, และนาตยา มนตรี. 2557. ผลของการใช้สารไคโตซานร่วมกับวัสดุปลูกต่อการอนุบาลกล้วยไม้เพชรหึง. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3): 495-500.

อินทร์ธัชว์ ศรีบุตต์, วีรยุทธ สีหานู, และอนันต์สิทธิ มีเพียร. 2558. ผลของอัตราไคโตซานที่ผสมกับดินปลูกต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศในถาดหลุมเพาะ. แก่นเกษตร. 42 (ฉบับพิเศษ 1): 906-910.

Aewsakul, N., D. Maneesorn, P. Serivichyaswat, A. Taluengjit, and S. Nontachaiyapoom. 2013. Ex vitro symbiotic seed germination of Spathoglottis plicata Blume on common orchid cultivation substrates. Sci. Hort. 160: 238-242.

Al-Turki, T.A., and C.C. Baskin. 2017. Determination of seed viability of eight wild Saudi Arabian species by germination and X-ray tests. Saudi J. Biol. Sci. 24: 822-829.

Brukhin, V. and N. Morozova. 2011. Plant growth and development - basic knowledge and current views. Math. Model. Nat. Phenom. Available: https://www.mmnp- journal.org/articles/mmnp/pdf/2011/02/mmnp201162p1.pdf. Accessed 26 Aug. 2018.

Charoenwattana, P., and U. Petprapai. 2013. Effects of chitosan and lotus extracts as growth promoter in Dendrobium Orchid. IJERD. 4: 133-137.

Clayton, D. 2002. The Genus Coelogyne: A Synopsis. Natural History Publications, Kota Kinabalu. du Jardin, P. 2015. Plant biostimulants: Definition, concept, main categories and regulation. Sci. Hort. 196: 3-14.

Gallo, F.R., L.A. Souza, M.A. Milaneze-Gutierre, and O.J.G. Almeida. 2016. Seed structure and in vitro seedling development of certain Laeliinae species. Rev. Mex. Biodivers. 87: 68-73.

Kananont, N., R. Pichyangkura, S. Chanprame, S. Chadchawan, and P. Limpanavech. 2010. Chitosan specificity for the in vitro seed germination of two Dendrobium orchids (Asparagales: Orchidaceae). Sci. Hort. 124: 239-247.

Karrfalt, R. 2008. Seed Testing. P. 1-24. In: F.T. Bonner, and R.P. Karrfalt. The Woody Plant Seed Manual. The Blackburn Press, New Jersey. Lee, Y.I., N. Lee, E.C. Yeung, and M.C. Chung. 2005. Embryo development of Cypripedium formosanum in relation to seed germination in vitro. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 130: 747-753.

Malerba, M., and R. Cerana. 2018. Recent advances of chitosan applications in plants. Polymers. Available: http://www.mdpi.com/2073-4360/10/2/118. Accessed 26 Aug. 2018.

Murashige, T., and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue cultures. Physiol. Plant. 15: 473-497.

Nge, K.L., N. Nwe, S. Chandrkrachang, and W.F. Stevens. 2006. Chitosan as a growth stimulator in orchid tissue culture. Plant Sci. 170: 1185-1190.

Novak, S.D., and G.A. Whitehouse. 2013. Auxin regulates first leaf development and promotes the formation of protocorm trichomes and rhizome-like structures in developing seedlings of Spathoglottis plicata (Orchidaceae). AoB PLANTS. Available: https://academic.oup.com/aobpla/article/doi/10.1093/aobpla/pls053/159522. Accessed 26 Aug. 2018.

Novak, S.D., L.J. Luna, and Gamage R.N. 2014. Role of auxin in orchid development. Plant Signal Behav. Available: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4622584/pdf/kpsb-09-10-972277.pdf. Accessed 26 Aug. 2018.

Pedersen, H.Æ., H. Kurzweil, and S. Suddee. 2014. Orchidaceae 2 (Epidendroideae p.p. Neottieae, Tropidieae, Nervilieae, Gastrodieae, Thaieae, Calypsoeae, Arethuseae, Collabieae, Cymbidieae). P. 303–670, Pls XXV–LVI. In: T.

Santisuk, and H. Balslev. Flora of Thailand 12(2). The Forest Herbarium, Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation, Bangkok. Pornpienpakdee, P., R. Singhasurasak, P. Chaiyasap, R. Pichyangkura, R. Bunjongrat, S. Chadchawan, and P. Limpanavech. 2010. Improving the micropropagation efficiency of hybrid Dendrobium orchids with chitosan. Sci. Hort. 124: 490-499.

Rinaudo, M. 2006. Chitin and chitosan: Properties and applications. Prog. Polym. Sci. 31: 603-632.

Seaton, P., J.P. Kendon, H. W. Pritchard, D.M. Puspitaningtyas, and T.R. Marks. 2013. Orchid conservation: the next ten years. Lankesteriana. 13: 93-101.

Sopalun, K., K. Thammasiri, and K. Ishikawa. 2010. Effects of chitosan as the growth stimulator for Grammatophyllum speciosum in vitro culture. IJSRIT. 4: 828-830.

Tuzlakoglu, K., C.M. Alves, J.F. Mano, and R.L. Reis. 2004. Production and characterization of chitosan fibers and 3-D fiber mesh scaffolds for tissue engineering applications. Macromol. Biosci. 4: 811-819.

Uthairatanakij, A., J.A. Teixeira da Silva, and K. Obsuwan. 2007. Chitosan for improving orchid production and quality. Orchid Science and Biotechnology. 1: 1-5.

Vujanovic, V., M. St-Arnaud, D. Barabé, and G. Thibeault. 2000. Viability testing of orchid seed and the promotion of colouration and germination. Ann. Bot. 86: 79-86.

Weitbrecht, K., K. Müller, and G. LeubnerMetzger. 2011. First off the mark: early seed germination. J. Exp. Bot. 62: 3289-3309.

Yeung, E.C. 2017. A perspective on orchid seed and protocorm development. Bot. Stud. Available: https://as-botanicalstudies.springeropen.com/track/pdf/10.1186/s40529-017-0188-4. Accessed 16 Aug. 2018.