ผลกระทบของสังคมสูงวัยต่อผลิตภาพแรงงานในภาคการเกษตรไทย

Main Article Content

โชคชัยชาญ วิโรจน์สัตตบุษย์
วลีรัตน์ สุพรรณชาติ
สุวรรณา ประณีตวตกุล

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของการเข้าสู่สังคมสูงวัยและปัจจัยอื่นๆที่มีต่อผลิตภาพแรงงานในภาคการเกษตรของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลแบบ Panel ครอบคลุม 4 ภูมิภาคของไทย (ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้) ในช่วงปี พ.ศ. 2537 ถึง 2558 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอาศัยแบบจำลองทางเศรษฐมิติสำหรับข้อมูลแบบ Panel ซึ่งประกอบด้วยแบบจำลอง Fixed Effect และ Random Effect ผลการวิเคราะห์พบว่าแบบจำลอง Fixed Effect เป็นแบบจำลองที่เหมาะสมกับชุดข้อมูลและตัวแปรสังคมสูงวัยซึ่งวัดจากอัตราการพึ่งพิงของผู้สูงวัยส่งผลเชิงลบต่อผลิตภาพแรงงาน ในขณะที่ปัจจัยด้านที่ดิน ทุน และค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาทางการเกษตร เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลิตภาพแรงงานในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้น นโยบายภาครัฐจึงควรเน้นเรื่องการขยายขนาดฟาร์ม การส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกล และการวิจัยทางการเกษตร เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของแรงงานสูงอายุและยกระดับผลิตภาพแรงงานภาคการเกษตรให้สูงขึ้นในยุคที่ภาคเกษตรเข้าสู่สังคมสูงวัย

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)

References

โชคชัยชาญ วิโรจน์สัตตบุษย์. 2560. ผลกระทบของสังคมสูงวัยที่มีต่อผลิตภาพแรงงานในภาคการเกษตรไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ธัญญาพร กสิกิจวิวัฒน์. 2549. อิทธิพลของโครงสร้ างประชากรที่มีต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

นิพนธ์ พัวพงศกร, บุญจิต ฐิตาภิวัฒนกุล, เรืองไร โตกฤษณะ, ประพิณวดี ศิริศุภลักษณ์, อิสริยา นิติทัณฑ์ประภาศ, อรชส นภสินธุวงศ์, วลีรัตน์ สุพรรณชาติ, สันติ แสงเลิศไสว, สุชาต อุดมโสภกิจ, ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์, ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์, นิภา ศรี อนันต์, เศก เมธาสุรารักษ์, กัมพล ปันตะกั่ว, และ วารีรัตน์ เพชรสีม่วง. 2556. ยุทธศาสตร์ข้าวไทย การวิจัยและพัฒนาข้าวไทยและการมองไปข้างหน้า. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย,กรุงเทพฯ.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 2556.การศึกษาปัจจัยกำหนดการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว. โครงการวิจัยนโยบายสาธารณะเพื่อยกระดับไทยให้พ้นกับดักรายได้ปานกลาง. สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ,กรุงเทพฯ.

สุภาวดี ไชยชมพู. 2555. ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ. วิทยานิพนธ์ปริญญา เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตทิต.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุมาลี สันติพลวุฒิ, ศุภชาติ สุขารมณ์,รสดา เวษฎาพันธุ์ และสมหมาย อุดมวิทิต. 2550. การศึกษาวิจัยผลิตภาพแรงงานไทยและปัจจัยที่กำหนด. น.399-412. ใน การป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ยเกษตรศาสตร์ ครั ้งที่ 45 สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2560. การสำรวจค่าใช้จ่ายและบุคลากรทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2558ก. สถิติบัญชีประชาชาติของประเทศไทย. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2558ข. รายงานสต๊อกทุนของประเทศไทย. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. 2558. การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรทั่วราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 3: กรกฎาคม-กันยายน 2558. สำนักงานสถิติแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2550. “ปัจจัยที่มีผลต่อผลิตภาพแรงงานในภาคเกษตร” เอกสารวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรุงเทพฯ.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. สถิติการเกษตรของประเทศไทย. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรุงเทพฯ.

Bloom, D., D. Canning, and G. Fink. 2010. Implications of Population Ageing for Economic Growth. Oxford Rev. Econ. Pol. 26: 583-612.

Chuenchoksan and Nakornthab. 2008. Past, Present, and Prospects for Thailand’s Growth: A Labor Market Perspective. Bank of Thailand Discussion Paper.

Evenson, R. 2001. Economic Impacts of Agricultural Research and Extension. In: Gardner, B. L. and G. C. Rausser (eds.) Handbook of Agricultural Economics. Elsevier: 573-628.

Guest, R. 2011. Population Ageing, Capital Intensity, and Labour Productivity. Pac Econ. Rev., 16: 371-388.

Kanjanakaroon, P. 2001. The Determinants of the Long-run Labor Productivity Growth Model in Thailand, Doctoral Dissertation. Northern Illinois University, IIIinois.

Kumar, S. and R. Russell. 2002. Technological Change, Technological Catch-Up, and Capital Deepening: Relative Contributions to Growth and Convergence. Amer. Econ. Rev. 92: 527-548.

Poungchompu, S., K. Tsuneo, and P. Poungchompu. 2012. Aspects of the Aging Farming Population and Food Security in Agriculture for Thailand and Japan. Int. J. Env. Rural. Dev. 3: 102-107.

Rigo, M., F. Waltenberg, and V. Vandenberghe. 2013. Ageing and Employability: Evidence from Belgian Firm-level Data. J. Prod. Anal. 40: 111-136.

Serban, A. 2012. Aging Population and Effects on Labour Market. Procedia Econ. and Financ. : 356-364.

Suphannachart, W. 2017. What Drives Labor Productivity in the Aging Agriculture of Thailand. Adv. Manage. Appl. Econ. 7: 89-105.

Suphannachart, W. 2013. Total Factor Productivity of Main and Second Rice Production in Thailand. Appl. Econ. J. 20: 1-22.

Suphannachart, W. and P. Warr. 2012. Total Factor Productivity in Thai Agriculture: Measurement and Determinants. In Fuglie, K. O., S. L. Wang and V. E. Ball, (eds.) Productivity Growth in Agriculture: An International Perspective. CAB International, Oxfordshire. 215-236.

Suphannachart, W. and P. Warr. 2011. Research and Productivity in Thai Agriculture. Australian J. Agr. Resour. Econ. 55: 35-52.

Tauer, L. 1994. Age and Farmer Productivity. Staff Paper. Department of Agricultural, Resource, and Managerial Economics. Cornell University, New York.

Tombe, T. 2015. The Missing Food Problem: Trade, Agriculture, and International Productivity Differences. Am Econ J: Macroeconomics. 7: 226-258.

United Nations. 2015. World Population Ageing 2015. New York: United Nation.

Valerio, A. T. 2014. Determinants of agricultural productivity of selected major crops in the CALABARZON region, Philippines. Global Bus. Econ. Res. J. 3: 16-31.

Wooldridge, J. 2003. Introductory Econometrics: A Modern Approach. Second Edition. Sydney: south-Western College Publishing.

World Bank. 2016a. Thailand Economic Monitor: Aging Society and Economy.

The World Bank, Bangkok. World Bank. 2016b. Live Long and Prosper: Aging in East Asia Pacific. The World Bank, Washington, DC.

World Economic Forum. 2016. Why the impact of aging may not be as bad as we think. https://www.weforum.org/agenda/2016/03/why-the-impact-ofageing-may-not-be-as-bad-as-wethink? Accessed 29 Sep. 2018.

Wye, C.-K. and R. Isamail. 2012. Sources of Labour Productivity Growth by Economic Sectors: A Study of Malaysia 1972-2005. Int. J. Manage. 29: 760-777.