ประสิทธิภาพเชิงกำไรของการปลูกข้าวหอมมะลิ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

Main Article Content

ปิยลาภ จันทร์เปรม
อรชส นภสินธุวงศ์

บทคัดย่อ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพที่มีชื่อเสียง แต่ระดับผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของข้าวหอมมะลิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ ซึ่งผลผลิตต่อไร่ต่ำอาจมีผลกระทบต่อด้านรายได้ และทำให้ขาดประสิทธิภาพในการสร้างกำไร การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณค่าประสิทธิภาพเชิงกำไรเกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสมมติแบบจำลอง translog profit function และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพเชิงกำไร โดยใช้แบบจำลองความด้อยประสิทธิภาพ ผลการศึกษาพบว่าระดับประสิทธิภาพเชิงกำไรเฉลี่ยอยู่ที่ 52.03% และปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความด้อยประสิทธิภาพเชิงกำไรของเกษตรคือ รายได้นอกเหนือจากการปลูกข้าวหอมมะลิและการเข้าร่วมฝึกอบรมด้านการปลูกข้าว ส่วนการเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรและการเข้ารับการแนะนำการฝึกอบรมด้านการตลาดข้าวส่งผลต่อการลดความด้อยประสิทธิภาพเชิงกำไรของเกษตรกร

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)

References

กรมทรัพย์สินทางปัญญา. 2560. สถิติการยื่นคำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี ้ทางภูมิศาสตร์. แหล่งข้อมูล: http://www.ipthailand.go.th/th/สถิติทรัพย์สินทางปัญญา/item/สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับขึ้นทะเบียน-2.html. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2561.

กรมส่งเสริมการเกษตร. 2556. ระบบขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ. แหล่งข้อมูล: http://ecoplant.doae.go.th/home/index.php. ค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2556.

กระทรวงพาณิชย์. 2555. การประโฆษณาแก้ไขสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้. แหล่งข้อมูล: http://www.ipthailand.go.th/th/ประกาศขึ้นทะเบียนแก้ไข/item/สช-50100022-ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้-2.html. ค้นเมื่อ 4 ธันวาคม 2561.

นิติพงษ์ ส่งศรีโรจน์ และ จารึก สิงหปรีชา. 2549. วิธีการวัดและข้อจำกัดของวิธีการวัดประสิทธิภาพ Efficiency Measurement Approaches and Limitation. เศรษฐศาสตร์. 13: 79–99.

บังอร แสนครี, อรวรรณ ศรีโสมพันธ์, ศุภรัตน์ จิตต์จำนง และ พัชรี สิริตระกุลศักดิ์. 2557. ประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในจังหวัดร้อยเอ็ด. แก่นเกษตร. 42: 136-141.

ประพืด อักษรพันธ์ และ สมพร อิศวิลานนท์. 2552. ประสิทธิภาพเชิงกำไรของฟาร์มสุกรมาตรฐานในประเทศไทย. เศรษฐศาสตร์. 16: 26-38.

ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวขอนแก่น. 2560. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของข้าว.แหล่งข้อมูล: http://kkn-rsc.ricethailand.go.th/index.php/e-library/field/565-rice-growth-factor. ค้นเมื่อ 26 ธันวาคม.2561.

เศก เมธาสุธารักษ์. 2542. การวิเคราะห์การสูญเสียกำไรของเกษตรกร: กรณีศึกษาเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปรังใน ต.บึงปลาทู อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ.

สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย. 2561. สถิติการส่งออกข้าวไทย. แหล่งข้อมูล: http://www.thairiceexporters.or.th. ค้นเมื่อ 10 กันยายน.2561. สมบัติ วิลาศ. 2546. การวิเคราะห์การสูญเสียกำไรของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ: กรณีศึกษาในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2560. ข้าวหอมมะลิไทย. มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 4000-2560. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2561. ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร. แหล่งข้อมูล: http://www.oae.go.th/view/1/ ตารางแสดงรายละเอียดข้าวนาปี/TH-TH. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2561.

Abdulai, A., and W.E. Huffman, 1998. An examination of profit inefficiency of rice farmers in Northern Ghana. Staff paper in Department of Economics, Iowa State University, Ames, U.S.A.

Ali, M., and J. C. Flinn, 1989. Profit efficiency among Basmati rice producers in Pakistan Punjab. Amer. Agri. Econ. 71: 303-310.

Battese, G. E, and T. J. Coelli. 1995. A model for technical inefficiency effects in a stochastic frontier production function for panel data. Empirical Econ. 20: 325-332.

Beattie, B. R, C. R. Taylor and M. J. Watts. 2009. The economics of production. 2nd Edition. Krieger Publishing Company, Malabar, FL.

Cochran, W. G. 1977. Sampling Techniques. 3rd Edition. John Wiley & Sons, New York.

Das, A. and S. Ghosh. 2006. Financial deregulation and efficiency: An empirical analysis of Indian banks during the post reform period. Rev. Financ. Econ. 15: 193-221.

FAO. 2018. FAO Rice price update. Available: http://www.fao.org/economic/est/publications/rice-publications/the-fao-rice-price- update/en/. Accessed Sept.10, 2018.

Galawat, F., and M. Yabe. 2012. Profit efficiency in rice production in Brunei Darussalam: a stochastic frontier approach. Int. Soc. Southeast Asian Agri. Sci. 18: 100-112.

Kolawole, O. 2006. Determinants of profit efficiency among small scale rice farmers in Nigeria: A profit function approach. Res. J. Appl. Sci. 1: 116-122.

Krejcie, R. V., and D. W. Morgan. 1970. Determining Sample Size for Research Activities. Educ. Psychol. Meas. 30: 607-610.

Kumbhakar, S. C., and C. A. K. Lovell. 2003. Stochastic Frontier Analysis. Cambridge University Press, Cambridge.

Napasintuwong, O. 2012. Survey of recent innovations in aromatic rice. In: and 131st European Association of Agricultural Economists Seminar “Innovation for agricultural competitiveness and sustainability of rural areas”. 18-19 September 2012. Prague, Czech Republic.

Ogunniyi, L. T. 2011. Profit efficiency among maize producers in Oyo State Nigeria. J. Agri. Bio. Sci. 6: 11-17.

Rahman, S. 2003. Profit efficiency among Bangladeshi rice farmers. J. Food Policy. 28: 487-503.

Rahman, S. A. Wiboonpongse, S. Sriboonchitta, and Y. Chavanapoonphol. 2009. Production efficiency of Jasmine rice producers in Northern and North-eastern Thailand. J. Agri. Econ. 60: 419-435.

Trong, H. P. and O. Napasintuwong. 2015. Profit inefficiency among hybrid rice farmers in Central Vietnam. Agric. Agric. Sci. Procedia. 5: 89 – 95.

Van Hoang, L., and Y. Mitsuyasu. 2012. Impact of environmental factors on profit efficiency of rice production: A study in Vietnam’s Red River Delta. World Acad. Sci. Eng.Technol. 66: 97-104.

Wadud, I., and Rashid, H.A. 2011. Profit efficiency and farm characteristics: Evidence from The rice farmers in Bangladesh. P.1053-1062. In: The 2011 Barcelona European Academic Conference 2011. Barcelona, Spain.

Yoshihashi, T, T.T.H. Nguyen., and N. Kabaki. 2004. Area dependency of 2-Acetyl-1-Pyrroline content in an aromatic rice variety, Khao Dawk Mali 105. Jpn. Agri. Res. Quar. 38: 105-10.