ผลตอบแทนจากการลงทุนวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตร ของภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาผลตอบแทนจากการลงทุนวิจัยและพัฒนาด้านการเกษตรของภาครัฐและภาคเอกชนในประเทศไทย โดยประยุกต์ใช้เทคนิควิธี Error Correction Modeling (ECM) กับแบบจำลองปัจจัยกำหนดผลิตภาพรวมและใช้ข้อมูลอนุกรมเวลารายปี ในช่วงปี 2531-2560 และคำนวณอัตราผลตอบแทนภายในจากการลงทุนวิจัย ผลการศึกษาพบว่า การลงทุนวิจัยด้านการเกษตรของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และการร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน ช่วยเพิ่มผลิตภาพรวมของภาคเกษตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในระยะยาว และให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อการลงทุน โดยการลงทุนวิจัยด้านเกษตรของภาครัฐ ภาคเอกชน และการร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน ให้ผลตอบแทนร้อยละ 40.84, 9.47, และ 8.49 ตามลำดับ นโยบายรัฐจึงควรส่งเสริมการลงทุนวิจัยด้านการเกษตรทั้งของภาครัฐ ภาคเอกชน และการร่วมมือวิจัยระหว่างรัฐและเอกชนให้ต่อเนื่องและมากยิ่งขึ้นเพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพให้ภาคเกษตรพัฒนาได้อย่างยั่งยืนโดยใช้องค์ความรู้จากผลงานวิจัยเป็นตัวขับเคลื่อน
Article Details
References
กอบศักดิ์ ภูตระกูล. 2556. คุณภาพของการเจริญเติบโตจากมิติของการกระจายรายได้: ปัญหาและทางออก. ธนาคารแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.
โชคชัยชาญ วิโรจน์สัตตบุษย์, วลีรัตน์ สุพรรณชาติ, และสุวรรณา ประณีตวตกุล. 2562. ผลกระทบของสังคมสูงวัยต่อผลิตภาพแรงงานภาคการเกษตรไทย. แก่นเกษตร, 47:419-432.
วลีรัตน์ สุพรรณชาติ. 2553. การประเมินผลกระทบของงานวิจัยทางการเกษตรที่มีต่อผลิตภาพการผลิตโดยรวมในประเทศไทย: กรณีการประยุกต์ใช้วิธีทางเศรษฐมิติ. น. 125-140. ใน: สมพร อิศวิลานนท์, ปิยะทัศน์ พาฬอนุรักษ์, และสุวรรณา ประณีตวตกุล. การประเมินผลกระทบจากงานวิจัยด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร. บจก. ที คิว พี, กรุงเทพฯ.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2560. การสำรวจค่าใช้จ่ายและบุคลากรทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.ศูนย์ข้อมูลและคาดการณ์เทคโนโลยี. 2560. ดัชนีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ปี 2559-2560.
สำนักงานคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กรุงเทพฯ.
Agricultural Science and Technology Indicator (ASTI). 2013. ASTI Global Assessment of Agricultural R&D Spending. http://www.asti.cgiar.org/globaloverview. Accessed Dec. 5, 2018.
Clancy, M., K. Fuglie, and P. Heisy. 2016. U.S. Agricultural R&D in an Era of Falling Public Funding. USDA Economic Research Service. https://www.ers.usda.gov/amber-waves/2016/november/us-agricultural-rd-in-an-era-of-falling-public-funding. Accessed Apr. 17, 2019.
Coelli, T. J., D. S. P. Rao, C. J. O’Donnell, and G. E. Battese. 2005. An Introduction to Efficiency and Productivity Analysis. 2nd Edition. Springer, New York.Evenson, R. 2001. Economic impacts of agricultural research and extension. P. 573-628. In: B. L. Gardner and G. C. Rausser. Handbook of Agricultural Economics. Elsevier, New York.
Flaherty, K., G-J. Stads, and A. Srinivasacharyulu. 2013. Benchmarking agricultural research indicators across Asia-Pacific. ASTI Regional Synthesis Report, International Food Policy Research Institute, Washington, DC.
Fuglie, K. and A. Toole. 2014. The evolving institutional structure of public and private agricultural research. Amer. J. Agr. Econ. 96: 862-883.
Hendry, D. F. 1995. Dynamic Econometrics. Oxford University Press, Oxford.International Food Policy Research Institute (IFPRI). 2017. Food Policy Indicators: Tracking Change Agricultural Science and Technology Indicators. Available: https://www.asti.cgiar.org/publications/food-policy-indicators. Accessed Dec. 5, 2018.
Pardey, P., C. Chan-Kang, S. Dehmer, and J. Beddow. 2016. Agricultural R&D is on the move. Nature News & Comment. International weekly journal of science. Available: https://www.nature.com/news/agricultural-rd-is-on-the-move-1.20571. Accessed Dec. 5, 2018.
Suphannachart, W. 2016. Returns to major agricultural R&D sources in Thailand. Am. J. Econ. 6: 22-26.
Suphannachart, W. 2009. Research and Productivity in Thai Agriculture. Ph.D. Dissertations. The Australian National University, Canberra.
Suphannachart, W. and P. Warr. 2012. Total factor productivity in Thai agriculture: measurement and determinants. P. 215-236. In: K. O. Fuglie, S. L. Wang, and V. E. Ball. Productivity Growth in Agriculture: An International Perspective. CAB International, Oxfordshire.
Suphannachart, W. and P. Warr. 2011. Research and productivity in Thai agriculture. Australian J. Agr. Resour. Econ. 55: 35-52.
Thirtle, C. and P. Bottomley. 1989. The rate of return to public sector agricultural R&D in the UK, 1965-1980. Appl. Econ. 21: 1063 - 1086.
Warr, P. and W. Suphannachart. 2017. Agricultural Productivity and Poverty Reduction: Evidence from Thailand. P.770-784. In: The 9th International Conference of Asian Society of Agricultural Economists: Transformation in Agricultural and Food Economy in Asia. 11 January, 2017, The Emerald Hotel, Bangkok.