ความชุกของการติดพยาธิภายในทางเดินอาหารของโค อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์

Main Article Content

สิริกาญดา ธนาสุวรรณ
สุภาวดี ปิระเต
อนุพงษ์ ทานกระโทก
สมจิตร์ กันธาพรม
ศราวุธ ดวงมะวงศ์

บทคัดย่อ

การศึกษาความชุกและชนิดของการติดพยาธิภายในทางเดินอาหารโค อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ ด้วยวิธีทำให้ไข่ตกตะกอนโดยการปั่นด้วยฟอร์มาลิน-เอทธิล อะซิเตท (Formalin-ethyl acetate centrifuge sedimentation) จากอุจจาระโค จำนวน 139 ตัวอย่าง พบว่าโคมีการติดพยาธิสูงถึงร้อยละ 95.68 มีโปรโตซัวและไข่พยาธิรวม 6 ชนิด โดยพบพยาธิตัวกลมกลุ่ม Strongylida order มากที่สุด (ร้อยละ 85.55) รองลงมาคือ unsporulated coccidia oocysts, Trichuris spp., Fasciola spp. และ Strongyloides spp. พบร้อยละ 32.60, 21.01, 20.29 และ 14.49 ตามลำดับ ส่วนพยาธิ Rumen flukes พบเพียงร้อยละ 4.35 เท่านั้น นอกจากนี้พบว่าโคมีการติดพยาธิตั้งแต่ 1 ถึง 4 ชนิด โดยส่วนใหญ่ติดพยาธิสองชนิดสูงมากถึงร้อยละ 40.29 ในการศึกษานี้บ่งชี้ว่าโคในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ มีอัตราการติดพยาธิในทางเดินอาหารสูงมาก และอาจเป็นแหล่งระบาดของโรคพยาธิที่สำคัญ ต้องมีการให้ยาถ่ายพยาธิโคให้กับผู้เลี้ยงทุกครัวเรือน พร้อมกำจัดและควบคุมประชากรหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลางเพื่อปรับปรุงความสามารถในการผลิตโคต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)

References

กมลทิพย์ รุ่งเรือง, จันทรา วัฒนะเมธานนท์, ชูฤทธิ์ เสนีย์มโนมัย. 2558. การศึกษาความชุกของพยาธิภายในกระเพาะอาหารและลำไส้ของโค และกระบือ ที่เข้ากักในโครงการธนาคารโค กระบือ เพื่อเกษตรกรตามพระราชดำริ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556–2557.สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, พระนครศรีอยุธยา.

เกษศิรินทร์ ศักดิ์วิวัฒกุล, จักรพงษ์ ชายคง, ชาญยุทธ แถมวัน, พัชรพงษ์ วัฒนขำ, รติยา เกษสิมลี และวิไลพรรณ กู้ภูเขียว. 2560. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของการติดพยาธิในทางเดินอาหารของโคที่พบในโรงฆ่าสัตว์ จังหวัดมหาสารคาม. แก่นเกษตร. 45: 765-771.

ทวีโชค ละม้ายศรี, กิตติ รักสิการ และกิติภัทท์ สุจิต. 2553. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของการพบปรสิตในทางเดินอาหารของโคเนื้อ รอบพื้นที่บึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ตุลาคม - พฤศจิกายน 2553. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครสวรรค์ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, นครสวรรค์.

วิษณุ วงษ์สว่าง, สุวรรณา แสนยุติธรรม และ เชาวลิต นาคทอง. 2557. การสำรวจความชุกพยาธิภายในทางเดินอาหารของโคเนื้อ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี. J. Appl. Ani. Sci. 7:33-42.

สถาพร จิตตปาลพงศ์, นงนุช จันทราช, พีรพล อยู่สวัสดิ์และพิบูลย์ เรืองสุภาภิชาต. 2534. การสำรวจพยาธิภายในของโคและกระบือในจังหวัดมหาสารคาม. น. 381-389. ใน: การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 29 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4-7 กุมภาพันธ์ 2534. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุทธิศักดิ์ นพวิญญวงศ์, สมบูรณ์ แสงมณีเดช และพิทยา ภาภิรมย์. 2550. การสำรวจพยาธิภายในโคพื้นเมืองที่กิ่งอำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น. วารสารศูนย์บริการวิชาการ. 15:47-51.

สุรสิทธิ์ อ้วนพรมมา และพิทยา ภาภิรมย์. 2548. การสำรวจพยาธิภายในของโคโตเต็มวัยพันธุ์พื้นเมืองจากอำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารสัตวแพทย์. 56:23-30.

สุรสิทธิ์ อ้วนพรมมา, พิทยา ภาภิรมย์, คณิต ชูคันหอม, สุธิดา จันทร์ลุน, สมบัติ แสงพล และอิสระ ปัญญาวรรณ. 2549. การสำรวจพยาธิภายในทางเดินอาหารของโคและกระบือพันธุ์พื้นเมืองในจังหวัดมหาสารคาม. วารสารสัตวแพทย์ 57:26-36.

สุวรรณี นิธิอุทัย. 2540. เทคนิคการตรวจวินิจฉัยโรคปรสิตทางสัตวแพทย์. ครั้งที่ 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.สามารถ อ่อนสองชั้น, สุรสิทธิ์ อ้วนพรมมา และ พิทยา ภาภิรมย์. 2553. การสำรวจพยาธิภายในทางเดินอาหารของโคพื้นเมืองในจังหวัดนราธิวาส. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนราธิวาส กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, นราธิวาส.

Aleixo, M., D. F. Freitas, L. H. Dutra, J. Malone, I. V. Martins and M. B. Molento. 2015. Fasciola hepatica: epidemiology, perspectives in the diagnostic and the use of geoprocessing systems for prevalence studies. Semina: Ciencias Agrarias, Londrina. 36:1451-1466.

Bowman, D. D. 2009. Georgis parasitology for veterinarians. 9th Edition. Print in China.

Forslid, A. D. Christensson, J. Dahl, G. Grandi and J. M. D. Enemark. 2015. Bovine eimeriosis in Swedish calves: Epidemiology and insights into sampling procedures. Vet. Parasitol. 1–2:16-20.

Husen, S., S. Girma, J. Guye, M. Geleta, T. Habebie, M. Hussen, and M. Abdurahaman. 2017. Prevalence of Bovine Fasciolosis in Gechi District, Buno Bedelle Zone, South West Ethiopia. IJRSB. 5:28-33.

Ibrahim, N. 2017. Fascioliasis: Systematic Review. Adv. Bio. Res. 11:278-285.

Jaja, I. F., B. Mushonga, E. Green and V. Muchenje. 2017. Seasonal prevalence, body condition score and risk factors of bovine fasciolosis in South Africa. Vet. Ani. Sci. 4:1-7.

Jittapalapong, S., A. Sangwaranond, B. Nimsuphan, T. Inpankaew, C. Phasuk, N. Pinyopanuwat, W. Chimnoi, C. Kengradomkit, P. Arunwipat and T. Anakewith. 2011. Prevalence of Gastro-Intestinal Parasites of Dairy Cows in Thailand. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 45:40-45.

Laha, R., M. Das and A. Goswami. 2013. Gastrointestinal parasitic infections in organized cattle farms of Meghalaya. Vetworld. 6:109-112.

Leon, J. C. P., N. U. Delgado and A. A. Florez. 2019. Prevalence of gastrointestinal parasites in cattle and sheep in three municipalities in the Colombian Northeastern Mountain. Vetworld. 12:48-54.

Mas-Coma, M. S., J. G. Esteban, and M. D. Bargues. 1999. Epidemiology of human fascioliasis: a review and proposed new classification. Bull. World Health Org. 77:340–346.

Mas-Coma, S., M. D. Bargues, and M. A. Valero. 2018. Human fascioliasis infection sources, their diversity, incidence factors, analytical methods and prevention measures. Parasitology. 145:1665-1699.

Nyindo, M., and A. H. Lukambagire. 2015. Fascioliasis: An Ongoing Zoonotic Trematode Infection. Bio. Med. Res. Int. 2015:1-8.

Olsen, A., K. Frankena, R. Bodker, N. Toft, S. M. Thamsborg, H. L. Enemark, and T. Halasa. 2015. Prevalence, risk factors and spatial analysis of liver fluke infections in Danish cattle herds. Parasites & Vectors. 8:160-169.

Soulsby, E. J. L. 1982. Helminths, Arthropods and Protozoa of Domesticated Animals. 7th Edition. Eastbourne. States, Bailliere Tindall.

Tung, K. C., C. C. Huang, C. H. Pan, C. H. Yang and C. H. Lai. 2012. Prevalence of gastrointestinal parasites in yellow cattle between Taiwan and its Offshore Islands. Thai J. Vet. Med. 42:219-224.

Wadhwa, A. R. K. Tanwar, L. D. Singla, S. Eda, N. Kumar and Y. Kumar. 2011. Prevalence of gastrointestinal helminthes in Cattle and buffaloes in Bikaner, Rajasthan, India. Vetworld. 4:417-419.

Yuwajita, C., S. Pruangka and T. Sukwong. 2014. Prevalence of gastro-intestinal parasites of cattle in Udonthani, Thailand. Khon Kaen Agr. J. 4 (Suppl. 1):20-24.