ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ Bacillus siamensis RRK1–Rif สูตรผงเปียกน้ำในการควบคุมโรคกาบใบแห้งและโรคเมล็ดด่างและการเพิ่มผลผลิตของข้าว
Main Article Content
บทคัดย่อ
ชีวภัณฑ์แบคทีเรีย Bacillus siamensis RRK1–Rif สูตรผงเปียกน้ำ (WP) หลังเก็บไว้ 11 เดือน ที่อุณหภูมิห้อง (25-30 °C) สามารถลดกํารเกิดโรคกาบใบแห้งของข้าวซึ่งเกิดจํากเชื้อรา Rhizoctonia solani ได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถลดความรุนแรงของโรคและเปอร์เซ็นต์ต้นเป็นโรคต่อกอ หลังการปลูกเชื้อสาเหตุโรคที่ 21 วัน ได้ 36.56–48.82% และ 7.94–30.65% ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุมที่ปลูกเชื้อสําเหตุโรค นอกจากนี้ชีวภัณฑ์ดังกล่าว ยังช่วยลดโรคเมล็ดด่างบนรวงข้าวที่เกิดจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคตามธรรมชาติได้ 17.02–37.02% เมล็ดดีเพิ่มขึ้น 6.05–11.27% เมล็ดด่างและเมล็ดลีบลดลง 3.29–32.71% และ 25.15–55.11% ตํามลำดับ และสามารถส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้ําว โดยมีจำนวนต้นและรวงต่อกอ เพิ่มขึ้น 20.38–22.68% และ 14.55–15.40% ตํามลำดับ ช่วยให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น 34.49–45.66% ขณะที่ข้าวกล้องซึ่งได้จากการขัดสีข้าวเปลือกมีข้าวเต็มเมล็ดเพิ่มขึ้น 4.95–16.78% และข้าวหักลดลง 13.24–44.85%
Article Details
References
จิตรา น้อยพันธ์. 2557. ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์แบคทีเรีย Bacillus amyloliquefaciens สายพันธุ์ BB165-M3 ในการเพิ่มผลผลิตและลดโรคเมล็ดด่างของข้าว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม.
ดารา เจตนะจิตร, นงรัตน์ นิลพานิชย์, พากเพียร อรัญนารถ, วิชิต ศิริสันธนะ, วิชชุดา รัตนากาญจน์, รัศมี ฐิติเกียรติพงศ์, เยาวภา ตันติวานิช, วันชัย โรจนหัสดิน และ จรรยา อารยาพันธ์. 2550. โรคข้าวและการป้องกันกำจัด. สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว.
นิชากร แซ่ตั้ง. 2553. การคัดเลือกเชื้อปฏิปักษ์ เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดโรคเมล็ดด่างของข้าว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม.
ปิลันธนา ฐาปนพงษ์วรกุล และ ศราวิชญ์ สายมงคล. 2558. ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus megaterium สายพันธุ์ No.16 ในการควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าวพันธุ์ กข6. วารสารเกษตร. 31: 301-310.
พากเพียร อรัญนารถ, นงรัตน์ นิลพานิชย์ วิชิต ศิริสันธนะ และ สมคิด ดิสถาพร 2544. ประสิทธิภาพของชีวภัณฑ์ Bacillus subtilis ในการควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าว. วารสารวิชาการข้าว. 19: 4-12.
พัชรพร ธรรมภิบาลอุดม. 2557. การใช้แบคทีเรียเอื้อประโยชน์เพื่อลดโรคกาบใบแห้งของข้าว เพิ่มผลผลิต และย่อยสลายฟางข้าว. วิทยานิพนธ์ปริญญําโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศําสตร์. นครปฐม.
เพชรพิกุล วางมูล. 2553. บทบาทของแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์ไคตินในการควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าวโดยชีววิธี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นครปฐม.
ฤกษ์ ศยามานนท์. 2522. โรคข้าวและกํารป้องกันกำจัด. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ.
สมาคมผู้ส่งออกข้ําวไทย. 2559. รํายงํานสถานการณ์ส่งออกข้าวไทย ปี 2559. แหล่งที่มา: เมื่อ 26 กรกฎาคม, 2560.
อัญชลี ประเสริฐศักดิ์, เกษม สุนทราจารย์, นิพนธ์ มาฆทาน, ณัฐหทัย เอพาณิช และ อ่วม คงชู. 2546. ผลของระดับความรุนแรงของโรคเมล็ดด่างต่ออายุการเก็บรักษาของเมล็ดข้าวพันธุ์หลัก. น. 25. ใน บทคัดย่อ การประชุมวิชากํารข้าวและธัญพืชเมืองหนาวประจำปี 2546.
Ahn,S.W., R. de La Pena, B.L. Candole, and T.W. Mew. 1986. A new scale for rice sheath blight disease assessment. IRRN 11: 17.
Charoenrak, P. and C. Chamswarng. 2016. Efficacies of wettable pellet and fresh culture of Trichoderma asperellum biocontrol products in growth promoting and reducing dirty panicles of rice. Agr. Nat. Resour. 50: 243 – 249.
Kinsella, K., C.P. Schulthess, T.F. Morris, and D. Stnart. 2009. Rapid quantification of Bacillus subtilis antibiotics in the rhizosphere. Soil Biol Biochem. 41: 374-379.
Kanjanamaneesathian M, R. Wiwattanapatapee, A. Pengnoo, K. Oungbho, and A. Chumthong. 2007. Efficacy of novel formulations of Bacillus megaterium in suppressing sheath blight of rice caused by Rhizoctonia solani. Plant Pathol. J. 6: 195-201.
Kumar, K.V.K., S.K.R. Yellareddygari, M.S. Reddy, J.W. Kloepper, K.S. Lawrence, X.G. Zhou, H. Sudini, D.E. Groth, S.K. Raju, and M.E. Miller. 2012. Efficacy of Bacillus subtilisMBI 600 against sheath blight caused by Rhizoctonia solani and on growth and yield of rice. Rice Science. 19: 55-63.
Pusey P.L. 1989. Use of Bacillus subtilis and related organisms as biofungicides. Pesticide Science. 27: 133–140.