อิทธิพลของน้ำทะเลหนุนต่อความแปรปรวนของความเค็มของดินในพื้นที่การเกษตรจังหวัดปทุมธานี

Main Article Content

เกียรติศักดิ์ สนศรี
นภาพร พันธุ์กมลศิลป์
สุชาดา กรุณา
วิภาวรรณ ท้ายเมือง
ยุทธนา พันธุ์กมลศิลป์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของน้ำทะเลหนุนต่อความแปรปรวนของความเค็มของดินในพื้นที่การเกษตร จังหวัดปทุมธานี กำหนดจุดเก็บตัวอย่างดินเป็นตัวแทน 6 จุดศึกษา โดยพิจารณาจากระยะห่างระหว่างพื้นที่ศึกษากับแม่น้ำเจ้าพระยา ทำการศึกษาสมบัติทางสัณฐานวิทยาของดิน เก็บตัวอย่างดินแบบไม่รบกวนโครงสร้างที่ระดับความลึก 0-15 และ 15-30 ซม. เพื่อวิเคราะห์สภาพการนำน้ำของดินขณะดินอิ่มตัวด้วยน้ำ เก็บตัวอย่างดินแบบรบกวนโครงสร้างที่ระดับความลึก 0-15, 15-30, 30-60, 60-90 และ 90-120 ซม. เพื่อวิเคราะห์การแจกกระจายขนาดอนุภาคของดิน เนื้อดิน สภาพการนำไฟฟ้าของดิน (ECe) และอัตราส่วนการดูดซับโซเดียมของดิน (SAR) วิเคราะห์สภาพการนำไฟฟ้า และอัตราส่วนการดูดซับโซเดียมของดินทุกๆ ระยะ 1 เดือน ตั้งแต่ เดือนมีนาคม 2561 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2562 นำค่าที่ได้มาคำนวณเป็นค่าเฉลี่ยรายปี ผลการศึกษาพบว่า ดินในพื้นที่ศึกษาเป็นดินลึกถึงลึกมาก เนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งถึงดินเหนียว ค่าพีเอชของดินอยู่ในช่วง 4.5 ถึง 7.5 สภาพการนำน้ำของดินขณะดินอิ่มตัวด้วยน้ำอยู่ในระดับช้ามากถึงปานกลาง สภาพการนำไฟฟ้าของดินมีค่าอยู่ในพิสัย 0.32-4.42 dS/m และอัตราส่วนการดูดซับโซเดียมของดินในพื้นที่ศึกษามีค่าอยู่ในพิสัย 6.80-28.31 จากค่าสภาพการนำไฟฟ้าและอัตราส่วนการดูดซับโซเดียมแสดงให้เห็นว่าดินในพื้นที่ศึกษาได้รับอิทธิพลจากเกลือ และน้ำทะเลหนุนเป็นปัจจัยร่วมที่ส่งผลต่อความแปรปรวนของความเค็มของดินในพื้นที่ศึกษา ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงฤดูกาลที่มีน้ำจืดผลักดันน้ำเค็มน้อยกว่าการหนุนของน้ำทะเล

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)

References

กรมชลประทาน. 2559. รายงานการเฝ้าระวังและติดตามคุณภาพน้ำด้านความเค็ม ครั้งที่ 30/2559. กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

กรมทรัพยากรธรณี. 2550. แผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดปทุมธานี. แหล่งข้อมูล: http://www.dmr.go.th/download/pdf/Central_East/ PatumThani.pdf. ค้นเมื่อ 4 ธันวาคม 2562.

กรมอุตุนิยมวิทยา. 2561. ภัยแล้ง (Drought). แหล่งข้อมูล: https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=71. ค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2561.

กรมอุตุนิยมวิทยา. 2562. รายงานปริมาณน้ำฝนรายเดือนประจำปี. แหล่งข้อมูล: http://hydromet.tmd.go.th/Reports/report-rfyear.aspx? fbclid=IwAR0RnEPHu-p2uYPgpXsZSoLaMOGc WCLsuURLXlg9pQQfWrZqngWwsT8ul_o. ค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2562.

การประปานครหลวง. 2562. โครงการระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำแบบ Real Time. แหล่งข้อมูล: http://rwc.mwa.co.th/page/home/?fbclid=wAR1qq7WPzE7F8sO-Pe9_3k8MblS8 DvYXpRZ9NxVAYQB8rzuh2fy7vziARZ0. ค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2562.

จารุวัฒน์ ช่วยชู. 2557. สมบัติและศักยภาพทางการเกษตรของดินเปรี้ยวในสภาพภูมิอากาศมรสุมเขตร้อน. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ธงชัย คงหนองลาน. 2556. การแจกกระจายและความแปรปรวนของชุดดินกุลาร้องไห้ในแอ่งโคราช. วิทยานิพนธ์ปริญญาปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน). 2560. สถานการณ์น้ำประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2560. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กรุงเทพฯ.

สมศรี อรุณินท์. 2536. การปรับปรุงดินเค็มและดินโซดิก. กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

สำนักสำรวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน. 2547. การกำหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคกลางของประเทศไทย จำแนกใหม่ตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546. กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

เอิบ เขียวรื่นรมณ์. 2552. คู่มือปฏิบัติการ การสำรวจดิน. พิมพ์ครั้งที่ 6. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Brady, N.C., and R.R. Weil. 2008. The Nature and Properties of Soils. 14th Edition. Prentice Hall, Inc., New Jersey, USA.

Ferraro, R.R., G. Skofronick-Jackson, Y. Hong, and K. Zhang. 2018. Precipitation. Comprehensive Remote Sensing 4: 4-24.

Goldberg, S. and H.S. Forster. 1990. Flocculation of reference clays and arid-zone soil clay. Soil Sci. Soc. Am. J. 54: 714-718.

Google Earth. 2018. The location of Pathum Thani province. Available: https://www.google.com/earth/index.html. Accessed Aug. 29, 2018.

Gupta, R.K., and I.P. Abrol. 1990. Salt-Affected Soils: Their reclamation and management for crop production. Adv. Soil Sci. 11: 223-288.

Havlin, J.L., J.D. Beaton, S.M. Tisdale, and W.L. Nelson. 2005. Soil Fertility and Fertilizers: An Introduction to Nutrient Management. 7th Edition. Pearson Prentice Hall Inc., New York, USA.

Ilyas, M., R.W. Miller, and R.H. Qureshi. 1993. Hydraulic conductivity of saline-sodic soil after gypsum application and cropping. Soil Sci. Soc. Am. J. 57: 1580-1585.

Iwai, C.B., A.N. Oo, and B. Topark-ngarm. 2012. Soil property and microbial activity in natural salt affected soils in an alternating wet-dry tropical climate. Geoderma 189-190: 144-152.

Kaewmano, C. 2009. The distribution trends of salt affected soils in Northeast Plateau Basins, Thailand. Ph.D. Thesis. Kasetsart University, Bangkok.

Keren, R. 2000. Salinity. In M.E. Summer. Handbook of Soil Science. CRC. Press, LLC., Boca Raton, USA.

Kilmer, V.J., and L.T. Alexander. 1949. Method of making mechanical analysis of soils. Soil Sci. 68: 15-24.

Klute, A., and C. Dirksen. 1986. Hydraulic conductivity and diffusivity: laboratory methods. In A. Kulte. Methods of Soil Analysis. Part I. Physical and Mineralogical Methods. Amer. Soc. Agron. Inc. Madison, USA.

Marshall, T.J., and J.W. Holmes. 1979. Soil Physics. Cambridge Univ. Press. London, England.

Mengel, K., and E.A. Kirkby. 2001. Principles of Plant Nutrition. 5th Edition. Dordrecht: Kluwer Academic.

Miller, W.P., H. Frenkel, and K.D. Newman. 1990. Flocculation concentration and sodium/calcium exchange of kaolinitic soil clays. Soil Sci. Soc. Am. J. 54: 346-351.

O’ Neal, A.M. 1952. Pedology (translation from French). George Allen and Unwin Ltd. London, England.

Poochai, K., N. Phankamolsil, P. Poolsab, and K. Sonsri. 2017. Influences of brine shrimp farming on chemical properties of soil and water in the surrounding areas that possess coarse to medium textured soils. pp.145-152. In Proceedings of 13th International Conference of the East and Southeast Asia Federation of Soil Science Societies 12-15 December 2017. Chonburi, Thailand.

Poulton, S.W., and R. Raiswell. 2005. Chemical and physical characteristics of iron oxides in riverine and glacial meltwater sediments. Chem. Geol. 218: 203-221.

Soil Survey Division Staff. 1993. Soil Survey Manual Handbook No. 18. Department of Agriculture, United States Government Printing Office, Washington, D.C., USA.

Soil Survey Staff. 1999. Soil Taxonomy: A Basic System of Soil Classification for Making and Interpreting Soil Surveys. 2nd Edition. Natural Resources Conservation Science, U.S. Dept. Agr., U.S. Govt. Printing Office, Washington D.C., USA.

Sparks, D.L. 2003. Environmental soil chemistry. Academic Press, San Diego, USA.

Szabolcs, I. 1989. Salt-Affected Soils. CRC Press, LLC. Boca Raton, USA.

U.S. Salinity Laboratory Staff. 1954. Diagnosis and improvement of saline and alkali soils: Handbook No. 60. U.S. Department of Agriculture, Washington, D.C., USA.

Virtasalo, J.J., and A.T. Kotilainen. 2008. Phosphorus forms and reactive iron in lateglacial, postglacial and brackish-water sediments of the Archipelago Sea, northern Baltic Sea. Mar. Geol. 22: 1-12.

Wilhite, D. A. 2000. Drought as a Natural Hazard: Concepts and Definitions. University of Nebraska – Lincoln, USA.

Wisconsin Department of Transportation. 2017. Geotechnical Manual. Wisconsin Department of Transportation. Available: https://wisconsindot.gov/ Documents/doing-bus/eng-consultants/cnsltrsrces/geotechmanual/gt-02-04.pdf. Accessed April 29, 2019.

Wongpokhom, N. 2007. Variability of natural soil systems as affected by salinity levels in Thailand. Ph.D. Thesis. Kasetsart University, Bangkok.

Wongpokhom, N, I. Kheoruenromne, A. Suddhiprakarn, M. Smirk, and R. J. Gilkes. 2008. Geochemistry of salt-affected aqualfs in Northeast Thailand. Soil Sci. 173: 143-167.