ภูมิปัญญาชาวบ้าน: พัฒนาการของเรือ
คำสำคัญ:
ภูมิปัญญาชาวบ้าน, พัฒนาการ, เรือบทคัดย่อ
เรือเกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้านที่ได้รับการสร้างและพัฒนามาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเพื่อเป็นพาหนะในการเดินทางมาแต่ครั้งโบราณ เนื่องจากบ้านเรือนคนไทยสมัยก่อนนิยมปลูก หันหน้าออกทางแม่น้ำ คนไทยจึงนิยมใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทางในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้เรือยังถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบไปตามความต้องการในการนำเรือไปใช้งาน และมี การเปลี่ยนแปลงทางด้านวัสดุในการสร้างเรือ เดิมเรือสร้างจากไม้ พัฒนามาเป็นวัสดุอื่น ๆ ที่มีความหลากหลายเพื่อความสะดวกในการใช้งานและการทำนุบำรุงรักษา นอกจากนี้ยังมีการนำเครื่องยนต์เรือมาใช้กับเรือขนาดใหญ่ เพื่อเดินทางไกลหรือบรรทุกสินค้าที่มีปริมาณมาก ซึ่งพัฒนาการของเรือเหล่านี้ล้วนเกิดจากพัฒนาการทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นสำคัญ
References
กรมอู่ทหารเรือ. (ม.ป.ป.). นิทรรศการในพิพิธภัณฑ์อู่เรือหลวงเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษากรุงเทพฯ: กองทัพเรือ.
ณัฐกานต์ เกาศล. (2559). เรือ ภูมิปัญญากับวิถีชีวิตพื้นบ้านและบทบาทในสังคมไทยภาคกลาง (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. (2541). ความผูกพันของคนกับสายน้ำ เรือ. กรุงเทพฯ: เอส ที พี เวิล์ดมีเดีย.
ประยูร วรนาม. (2543). วิวัฒนาการเรือลำชี. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เสรี พงศ์พิศ. (บ.ก.). (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป.
พลาเดช ณ ป้อมเพชร. (2546). โลกของชาวมอแกน: มองจากความรู้พื้นบ้านเกี่ยวกับทะเลและพื้นที่ชายฝั่ง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิศาล บุญผูก. (2550). ภูมินามอำเภอปากเกร็ด นนทบุรี: โครงการการจัดการสารสนเทศจากภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านนนทบุรีศึกษาเพื่อส่งเสริมบริการห้องสมุดสู่ชุมชน. นนทบุรีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พิศาล บุญผูก. (2552). ภูมินามอำเภอไทรน้อย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ราตรี โตเพ่งพัฒน์. (2543). ตลาดน้ำ: วิถีชีวิตของเกษตรกรภาคกลาง. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
เรือหางยาว..สิ่งที่คนไทยควรภูมิใจ. (2531, เมษายน). สารคดี, 4(38),112-115.
ลาลูแบร์, ซีมอง เดอ. (2548). จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์: ราชอาณาจักรสยาม (สันต์ ท.โกมลบุตร, ผู้แปล) (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: ศรีปัญญา.
ส. พลายน้อย. (2516). เกร็ดโบราณคดีประเพณีไทย ชุดที่ 2. กรุงเทพฯ: บุรินทร์การพิมพ์.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (บ.ก.). (2551). แม่น้ำลำคลองสายประวัติศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
สุเนตร ชุติธรานนท์, อัมพร สโมสร, พิชญ์ เยาว์ภิรมย์, และไวส์เนน ริก. (2545). เรือ: วัฒนธรรม ชาวน้ำลุ่มเจ้าพระยา. กรุงเทพฯ: แปลนโมทิฟ.
สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา. (2539). น้ำ บ่อเกิดแห่งวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยาม.
สุรเชษฐ เวชชพิทักษ์. (2533). รากฐานแห่งชีวิต วัฒนธรรมชนบทกับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมู่บ้าน.
อเนก นาคะบุตร. (2536). ข่าวสารข้อมูลกับความยั่งยืนของการพัฒนา: ในคนกับดิน น้ำ ป่าจุดเปลี่ยนแห่งความคิด. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม. (2553). ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อัมพร แก้วหนู. (2540). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการพัฒนา: พัฒนาได้จริงหรือ?. วารสารทักษิณคดี, 4(3), 43-55.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว