การเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรในการทำงานยุค New normal ของเทศบาลตำบลท่าวังทอง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

ผู้แต่ง

  • ณรงค์ ใจเที่ยง คณะเเพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • อรทัย เกตุขาว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • ณรงค์ศักดิ์ ใจเที่ยงธรรม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • วัชรี คงทอง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • กรรณิการ์ เงินดี เทศบาลตำบลบ้านใหม่ จังหวัดพะเยา
  • อนุราช เทศทอง เทศบาลตำบลท่าวังทอง จังหวัดพะเยา
  • จิตรกร กัลยา เทศบาลตําบลท่าวังทอง จังหวัดพะเยา

คำสำคัญ:

กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ, การทำงานยุค New normal, เทศบาลตำบลท่าวังทอง, จังหวัดพะเยา

บทคัดย่อ

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจ และความพึงพอใจหลังการจัด กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรในการทำงานยุค New normal เทศบาลตำบลท่าวังทอง กลุ่มเป้าหมายคือบุคลากรของเทศบาลตำบลท่าวังทอง ในปีงบประมาณ 2563 จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบประเมินความพึงพอใจและแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากร การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

     ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรเทศบาลตำบลท่าวังทองมีแรงจูงใจและความพึงพอใจ หลังการจัดกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานยุค New normal ในระดับดีมาก และอยาก ให้มีการจัดกิจกรรมลักษณะแบบนี้ในปีต่อไป

References

จำเนียร วงษ์ศรีแก้ว. (2556).ความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากรในสังกัดกลุ่มอำนวยการโรงพยาบาลตราด. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า, 30(4), 316-326.

ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2563). การบริหารคนยุค New normal [คอลัมน์ เอชอาร์คอร์เนอร์]. สืบค้นจาก http://tamrongsakk.blogspot.com

ปัทมาวรรณ จินดารักษ์ และคณะ. (2562). สมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับความหลากหลายของกลุ่มวัย. วารสารนักบริหาร, 39(1), 3-11.

ปาริฉัตร ตู้ดํา.(2558).โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุขององค์ประกอบทีมีอิทธิพลต่อความก้าวหน้าในอาชีพของผู้บริหารสตรีในองค์กรภาครัฐของไทย. WMS Journal of Management, Walalilak University, 3(3), 47-56.

พิสมัย แจ้งสุทธิวรวัตน์ และยุพิน อุงสุโรจน์. (2551). สภาพแวดล้อมในการทำงาน พฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสม กับการทำงานเป็นทีมของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไปเขตภาคกลาง. วารสารสภาการพยาบาล, 23(1), 87-99.

มานพ ชลพานิชกุล และตรีเนตร ตันตระกูล. (2563). รูปแบบการพัฒนาความสุขเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานตามหลักองค์กรแห่งความสุข ในนิคมอุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8(3), 953-967.

รพีพร ธงทอง. (2561). ภาวะผู้นำและวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อการพัฒนาท้องถิ่น. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 13(45), 103-114.

วิไลวรรณ อิศรเดช และพระมหาประกาศิต ฐิติปสิทธิกร. (2563). การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพและบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(4), 413-425.

สุวภัทร ศรีสว่างและณัฐพร ฉายประเสริฐ. (2562). สวัสดิการและค่าตอบแทนการปฏิบัติงานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(3), 294-303.

สมชัย ศรีสุทธิยากร. (2563). New normal กับระบบราชการไทย [รายงานพิเศษ]. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/column/article_307573

สุวพิชญ์ แสงแก้ว. (2555). ความพึงพอใจในสวัสดิการและค่าตอบแทนของบุคลากรสำนักงานศาลปกครอง. วารสารพิฆเนศวร์สาร, 8(2), 107-118.

BCG. (2020). COVID-19 and the New Leadership Agenda. Related expertise: Leadership & talent, public sector, health care payers, providers & services. Retrieved from https://www.bcg.com/featured-insights/coronavirus

Rainer Strack, Allison Bailey, Deborah Lovich, Jens Baier, Reinhard Messenböck, Fang Ruan, Susanne Dyrchs, and Ádám Kotsis. (2020). People Priorities for the New Now. Related expertise: People strategy, digital transformation, leadership & talent. Retrieved on April 30, 2020, from https://www.bcg.com

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-12-2020