อิทธิพลของวิธีการวัดมีผลต่อความสัมพันธ์ของตัวแปรอย่างไร
คำสำคัญ:
วิธีการวัด, อิทธิพลของวิธีการวัด, ความแปรปรวนของคะแนนที่สังเกตได้, ระดับความสัมพันธ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงบทคัดย่อ
อิทธิพลของวิธีการวัดถือว่าเป็นประเด็นในการวิจัยที่ค่อนข้างใหม่ ทั้งนี้ตลอดระยะเวลา กว่า 50 ปีที่ผ่านมา มีนักวิจัยของต่างประเทศได้ศึกษาในประเด็นนี้อยู่บ้าง ต่อมาอิทธิพลของ วิธีการวัดกลายเป็นสิ่งที่นักวิจัยควรตระหนักถึงและควรดำเนินการตรวจสอบอิทธิพลของวิธีการ วัดร่วมด้วย โดยอิทธิพลของวิธีการวัดสามารถพิจารณาจาก 2 ดัชนีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ Common Method Variance (CMV) ซึ่งคือความแปรปรวนของคะแนนที่สังเกตได้ โดยบางส่วนเป็นผล มาจากวิธีการวัด และ Common Method Bias (CMB) ซึ่งคือระดับความสัมพันธ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง ไปตามอิทธิพลอันเกิดจากวิธีการวัด โดยพบว่า CMB มีอิทธิพลมากกว่า CMV และอาจเรียก ความลำเอียงที่เกิดขึ้นจากวิธีการวัดว่าอิทธิพลของวิธีการวัด โดยทั่วไปอิทธิพลของวิธีการวัด จะเกิดขึ้นเมื่อลักษณะของวิธีการวัดหรือเครื่องมือวัดใด ๆ ไปทำให้เกิดความแปรปรวนมากกว่า โครงสร้างที่สนใจศึกษา
References
โชติกา ภาษีผล. (2554). การวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพ็ญนภา ศรีโฉม. (2557). การเปรียบเทียบอิทธิพลของวิธีการวัดที่มีต่อผลการวัดสุขภาพจิตที่มาจากการตอบตามความพึงปรารถนาของสังคม: การประยุกต์ใช้เทคนิคซีอียูแอลและเทคนิคซีอีเอ็มแอล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
วรรณี แกมเกตุ. (2540). การพัฒนาตัวบ่งชี้ ประสิทธิภาพการใช้ครู: การประยุกต์ใช้โมเดลสมการโครงสร้างกลุ่มพหุและโมเดลเอ็มทีเอ็มเอ็ม (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
วรัญญู ฉายาบรรณ์. (2558). อิทธิพลของรูปแบบข้อสอบที่มีต่อความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลการวัดสมรรถนะทางคณิตศาสตร์ตามแนวทางพิซ่า : การประยุกต์ใช้การ ตรวจสอบอิทธิพลของวิธีการวัดด้วยเทคนิคซีทีซียูและเทคนิคซีทีซีเอ็ม (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bagozzi, R. P., & Yi, Y. (1991). Multitrait-multimethod matrices in consumer research. Journal of Consumer Research, 17, 426-439.
Cote, J. A., & Buckley, R. (1987). Estimating trait, method, and error variance: Generalizing across 70 construct validation studies. J. Mark. Res, 24, 315-318.
Doty, D. H., & Glick, W. H. (1998). Common methods bias: Does common methods variance really bias results? Organ. Res. Methods, 1, 374-406.
Jakobsen, M., & Jensen, R. (2014). Common method bias in public management studies. International Public Management Journal, 18(1), 3-30.
Jones, B. A. (2009). Minimizing method bias through programmatic research. Management Information Systems Quarterly, 33, 445-471.
Mual, A. (2013). Method effects and the meaning of measurement. Frontiers in Psychology, 4, 169.
Meade, A. W., Watson, A. M., & Kroustalis, C. M. (2007, April). Assessing common methods bias in organizational research. Paper presented at the Proceedings of the 22nd Annual Meeting of the Society for Industrial and Organizational Psychology, San Diego, CA.
Podsakoff, P. M., MacKenzie, S. B., Lee, J. Y., & Podsakoff, N. P. (2003). Common method biases in behavioral research: A critical review of the literature and recommended emedies. Journal of Applied Psychology, 88, 879-903.
Podsakoff, P. M., MacKenzie, S. B., & Podsakoff, N. P. (2012). Sources of method bias in social science research and recommendations on how to control it. Annual Review of Psychology, 63, 539-569.
Richardson, H. A., Simmering, M. J., & Sturman, M. C. (2009). A tale of three perspectives examining post hoc statistical techniques for detection and correction of common method variance. Organizational Research Methods, 12(4), 762-800.
Sechrest, L., et al. (2000). Understanding method variance. Thousand Oaks: Sage Publications.
Spector, P. E. (2006). Method variance in organizational research: Truth or urban legend? Organizational Research Methods, 9(2), 221-232.
Vinsanathan, M., Berkman, N., Dryden, D. M., & Harting, L. (2012). Assessing risk of bias and confounding in observational studies of interventions or exposures: Further development of the RTI item bank (AHRQ Publication No. 13-EHC106-EF). Edmonton, Canada: University of Alberta Evidence-based Practice Center.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว