การนำแนวคิดบุคลิกภาพตราสินค้ามาประยุกต์ใช้กับบุคลิกภาพประเทศ
คำสำคัญ:
บุคลิกภาพประเทศ, ตราสินค้าของประเทศ, บุคลิกภาพตราสินค้าบทคัดย่อ
บทความทางวิชาการนี้อภิปรายแนวคิดบุคลิกภาพตราสินค้าที่มีบทบาทต่อการสร้างตราสินค้า และการตลาดให้กับประเทศ แนวคิดบุคลิกภาพตราสินค้าถูกนำไปใช้ในการศึกษาบุคลิกภาพของสิ่งอื่น ๆ นอกเหนือไปจากตราสินค้าโดยทั่วไป เช่น สถาบันการศึกษา การบริการ และสถานที่ท่องเที่ยว ดังนั้นหากมองว่าประเทศเปรียบเสมือนเป็นตราสินค้าหนึ่ง และต้องการทำการตลาดให้กับประเทศแล้ว แนวคิดบุคลิกภาพของตราสินค้าที่นำมาเชื่อมโยงกับประเทศจึงเป็นแนวคิดหนึ่งที่ควรนำมาประยุกต์ใช้ เนื้อหาหลักของบทความเริ่มต้นด้วยการอภิปรายถึงแนวคิดเกี่ยวกับตราสินค้า จากนั้นเป็นการนำเสนอแนวคิดบุคลิกภาพตราสินค้าในด้าน ความหมายของบุคลิกภาพตราสินค้า การวัดบุคลิกภาพตราสินค้า บทบาทของบุคลิกภาพตราสินค้า และการนำแนวคิดบุคลิกภาพตราสินค้าไปประยุกต์ใช้ ท้ายสุดเป็นการอภิปรายถึงแนวคิดบุคลิกภาพประเทศ โดยกล่าวถึงที่มาของแนวคิดบุคลิกภาพประเทศ ความหมายของบุคลิกภาพประเทศ และการวัดบุคลิกภาพประเทศ ซึ่งการศึกษาประเทศต่าง ๆ โดยนำแนวคิดเรื่องบุคลิกภาพตราสินค้ามาใช้นั้น จะทำให้สามารถเชื่อมโยงปัจจัยของประเทศในด้านต่าง ๆ ได้แก่ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง คุณภาพชีวิต และการท่องเที่ยว เข้ากับบุคลิกภาพของประเทศ จะช่วยให้เข้าใจถึงมุมมองที่ประชาชน นักธุรกิจ หรือนักท่องเที่ยวประเทศต่าง ๆ มีต่ออีกประเทศ และช่วยให้นักการตลาด รวมทั้งรัฐบาล ในการทำการตลาดให้กับประเทศได้
References
กุลนันทน์ ศรีพงษ์พันธุ์, และก่อพงษ์ พลโยราช. (2557a). บทบาทของผลิตภัณฑ์ที่เน้นประโยชน์ใช้สอยและผลิตภัณฑ์ที่เน้นความเพลิดเพลินทางอารมณ์ในงานวิจัย. วารสารบริหารธุรกิจ, 37(141), 34-47.
กุลนันทน์ ศรีพงษ์พันธุ์, และก่อพงษ์ พลโยราช. (2557b). อิทธิพลภาพลักษณ์ของประเทศแหล่งกำเนิดที่มีต่อการประเมินผลิตภัณฑ์และความตั้งใจซื้อของผู้บริโภค. วารสารนักบริหาร, 34(2), 66-79.
กุลนันทน์ ศรีพงษ์พันธุ์, และก่อพงษ์ พลโยราช. (2561). มาตรวัดบุคลิกภาพประเทศ. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 40(155), 1-29.
เดอะเบสท์. (2564). ข้อมูลประเทศออสเตรเลีย. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2564, จาก https://thebest-edu.com/study-abroad/australia/australia-information/
ศรัณย์ อมาตยกุล, ก่อพงษ์ พลโยราช, และวาลี ปรีชาปัญญากุล. (2560). การใช้แนวคิดการบริโภค เชิงสัญญะร่วมกับแนวคิดบุคลิกภาพตราสินค้า. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 1(1), 54-65.
Aaker, J. L. (1997). Dimension of Brand Personality. Journal of Marketing Research, 34(3), 347-356.
Boudreaux, C. A., & Palmer, S. E. (2007). A Charming little cabernet: Effects of wine label design on purchase intent and brand personality. International Journal of Wine Business Research, 19(3), 170-186.
d'Astous, A., & Boujbel, L. (2007). Positioning countries on personality dimension: Scale development and implications for country marketing. Journal of Business Research, 60(3), 231-239.
d'Astous, A., & Li, D. (2009). Perceptions of countries based on personality traits; A study in China. Asia Paciific Journal of Marketing and Logistics, 21(4), 475-488.
Ekinci, Y., & Hosany, S. (2006). Destination personality: An application of brand personality to
tourism destinations. Journal of Travel Research, 45(2), 127-139.
Freling, T. H., & Forbes, L. P. (2005). An empirical analysis of the brand personality effect. Journal of Product & Brand Management, 14(7), 404-413.
Harris, E. G., & Fleming, D. E. (2005). Assessing the human element in service personality formation: Personality congruency and the five factor model. Journal of Services Marketing, 19(4), 187-198.
Hosany, S., Ekinci, Y., & Uysal, M. (2006). Destination image and destination personality: An application of branding theories to tourism place. Journal of Business Research, 59(5), 638-642.
Kim, C. K., Han, D., & Park, S. (2001). The effect of brand personality and brand identification on brand loyalty: Applying the theory of social identification. Japanese Psychological Research, 43(4), 195-206.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2014). Principle of Marketing. New Jersey: Pearson Education.
Matthiesen, I., & Phau, I. (2005). The 'HUGO BOSS' connection: Achieving global brand consistency across countries. Brand Management, 12(5), 325-338.
Polyorat, K. (2011). The influence of brand personality dimensions on brand identification and word-of-mouth: The case study of university brand in Thailand. Asian Journal of Business Research, 1(1), 46-61.
Siguaw, J. A., Mattila, A., & Austin, J. R. (1999). The brand personality scale: An application for restaurants. Hotel and Restaurant Administration Quarterly, 40(3), 48-55.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว