พระศยามตาราโพธิสัตว์: ที่มา ประติมานวิทยา ความเชื่อของชาวพุทธทิเบตและไทย
คำสำคัญ:
พระศยามตาราโพธิสัตว์, พระพุทธศาสนานิกายวัชรยาน, ประติมานวิทยา, ความเชื่อ, ชาวพุทธทิเบตและไทยบทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอเรื่องราวของพระศยามตาราโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ในรูปของสตรีที่ได้รับความเคารพศรัทธาเป็นอย่างยิ่งท่านหนึ่งในพระพุทธศาสนานิกายวัชรยาน โดยในเบื้องต้นได้กล่าวถึงประวัติของพระโพธิสัตว์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย อธิบายถึงความคล้ายคลึงกันของแหล่งข้อมูลต่างๆ จากนั้นได้วิเคราะห์ความหมายของสัญลักษณ์ตามหลักประติมานวิทยาที่แฝงไว้ในการสร้างรูปเคารพและจิตรกรรมทังกาจากคัมภีร์ศิลปศาสตร์อันมี พระสูตรการสร้างรูปเคารพและฎีกาพระสูตรการสร้างรูปเคารพ เป็นต้น ท้ายที่สุดได้นำเสนอคติความเชื่อของพุทธศาสนิกชนชาวทิเบตที่มีต่อพระโพธิสัตว์ตลอดจนถึงร่องรอยการบูชาพระโพธิสัตว์ที่ปรากฏในสังคมไทยตั้งแต่อดีตเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
References
กรมศิลปากร. (2563, 19 พฤศจิกายน). พระพุทธศาสนาในภาคใต้ของไทย. https://www.youtube.com/watch?v=lIA7ZUISyzQ
กฤษดาวรรณ เมธาวิกุล. (2561). วัชรยาน: พระพุทธศาสนามหายานแบบทิเบต. ใน ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ (บ.ก.), พุทธศาสนามหายานในเอเชียตะวันออก (น. 67-93). ชวนอ่าน.
ชวนไปอธิษฐานจิต...ภาวนา ณ “ถ้ำอารยตารามหาโพธิสัตว์หมื่นพระองค์”. (2558, 1 มีนาคม). ไทยรัฐ. เด่นดาว ศิลปานนท์. (ม.ป.ป.). เล่าเรื่องประติมานวิทยา: อัพชะ (Abja). https://www.finearts.go.th/promotion/view/14502-เล่าเรื่องประติมานวิทยา--อัพชะ--Abja-
ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล. (2558). ศิลปะทิเบต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผาสุข อินทราวุธ. (2543). พุทธปฏิมาฝ่ายมหายาน. อักษรสมัย.
พระเทพวัชรบัณฑิต (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ). (2564, 4 พฤษภาคม). พระพุทธศาสนาในทิเบต. https://www.mcu.ac.th/article/detail/35360
พระพงษ์ระวี อุตฺตรภทฺโท. (2565, 26 กุมภาพันธ์). พุทธ พราหมณ์ ผี: พื้นที่ผสมผสานพหุวัฒนธรรมล้านนา. https://www.youtube.com/watch?fbclid=IwAR3LtEDfe3uW5p0hNgaDnaSt2asEPVxrs-1JodiQyK8-hZV66WTikWH1RrU&v=B1ncLutarqc&feature=youtu.be
แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต. (2563, 26 พฤษภาคม). โอม ตา เร. https://www.youtube.com/watch?v=CgIDHL-5Csw&t=1534s
วัดโพธิ์แมนคุณาราม. (ม.ป.ป.). ประวัติพระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตรฯ โพธิ์แจ้งมหาเถระ. https://www.pumenbaoensi.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=7&Id=539054929
สมเกียรติ โล่ห์เพชรัตน์. (2561). พุทธตันตระ พระกษิติครรภ์มหาปณิธานสูตร. สยามอินเตอร์เนชั่นแนลบุคส์.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2543). เกณฑ์การถ่ายถอดเสียงภาษาจีนแมนดารินด้วยอักขรวิธีไทย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์. (2560). พระพุทธรูปล้านนากับคติพระพุทธศาสนามหายานแบบตันตระนิกายวัชรยาน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2561). เจ้าหญิงเหวินเฉิงกับอาณาจักรถู่ปัว. วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 11(1), 13-43.
เสถียรธรรมสถาน. (ม.ป.ป. ก). ขอเชิญร่วมทำบุญมหากุศลสนับสนุนการทำงาน 25 ปี ของเสถียรธรรมสถาน. https://www.sdsweb.org/sdsweb/index.php?option=com_content&view=article&id=362:2011-03-14-10-14-12&catid=36&Itemid=134
เสถียรธรรมสถาน. (ม.ป.ป. ข). พิธีหล่อ‘พระอารยตารามหาโพธิสัตว์’ ร่วมหนึ่งในประวัติศาสตร์การสร้าง ‘พระอารยตารามหาโพธิสัตว์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก’. https://www.sdsweb.org/new/view&id=273
เสริมกิจ ชัยมงคล. (2558). พระนางตารา. ใน เด่นดาว ศิลปานนท์ (บ.ก.), เทวสตรี: คติพุทธ พราหมณ์ และความเชื่อในประเทศไทย (น.68-74). กรมศิลปากร.
Huo, K. S. (2011). The Faith of Tibetan Buddhism Forward Green Tara. The Silk Road, 8, 73-74.
Sheng, L. (2011). An Analysis of The Symbolic Connotation of The Statue of Green Tara. Journal of Panzhihua University, 28(5), 58-89.
The Cleveland Museum of Art. (n.d.). Green Tara. https://www.clevelandart.org/art/1970.156
Yin, C. (2005). Hidden Agenda Profound of Thangka. Chongqing Press.
Zeng, L. P. (2014). Green Tara as Tibetan of Guanyin Bodhisattva. Oriental Collection, 2, 20-21.
Zhuoma, D. (2006). The Legend of Green Tara and Tibetan Culture. Tibetan Studies, 4, 24-29.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว