การประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในการประเมินความเสี่ยง การเกิดแผ่นดินถล่มจากอุทกภัยและน้ำป่าไหลหลาก: กรณีศึกษา อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

อรอนงค์ บุญคล่อง

Abstract

The application of Mathematical model API (Antecedent Precipitation Index) for warning the locals of floods using API stream flow and landslide area. The purpose of this study aimed at: developing the Mathematical model API applicable for measuring the flood water source area, flood warning and locate the risky area for flooding in Nopphitam District, Nakhon Si Thammarat Province. The study period was from November to December 2014. The data was collected by installing data collection instrument measuring daily rainfall, daily water level and daily rate of water flow. The data analysis was proved by using the Mathematical model developed from Linsley model can be separated to 2 values and developed to 2 API models due to the analysis of the surrounding area such as on the ground and stream. The result shows that both of the API models are similar and relate to the real situation. It can be concluded that API models are accurate and suit for predicting flooding in the risky area. The researcher can take the results from the model to create the figure by using Mathematica Program in order to predict flood warning in the study area and river mouth area.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

กรมทรัพยากรน้ำ. (2548). โครงการกำหนดค่าดัชนีความชุ่มชื้นของดิน (Antecedent Precipitation Index: API) เพื่อสนับสนุนการเตือนภัยล่วงหน้าน้ำท่วมฉับพลัน-แผ่นดินถล่ม. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
กรมอุตุนิยมวิทยา. (2557). สำนักพยากรณ์อากาศและการเตือนภัย. กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กอบเกียรติ ผ่องพุฒ. (2555). การพยากรณ์ปริมาณน้ำท่าของลุ่มน้ำ เพื่อการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและการเตือนภัยจากน้ำท่วมฉับพลัน. เอกสารนำเสนอในที่ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17 วันที่ 9-11 พฤษภาคม 2555, สกลนคร.
ทีมข่าวภูมิภาคโพสต์ทูเดย์. (2558). ข่าวภูมิภาค: 27 ปี โคลนถล่มกะทูน จากความวิปโยคคืนสู่ความสมบูรณ์. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2561, จาก: https://www.posttoday.com/social
/local/400980
ทีมไทยรัฐออนไลน์. (2556). ข่าวภูมิภาค: เมืองคอน'อ่วมท่วมแล้ว 11 อภ. ต้องหามศพหนีน้ำ. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2561, จาก: https://www.thairath.co.th/content/384757
พงษ์ศักดิ์ วิทวัสชุติกุล สำเริง ปานอุทัย และพิณทิพย์ ธิติโรจนะวัฒน์. (2554). บทบาทของทรัพยากรป่าไม้ กับ ปัญหาน้ำป่าไหลหลาก-แผ่นดินถล่ม: ข้อสังเกตจากข้อมูลเชิงประจักษ์. เอกสารประกอบการเสวนาทางวิชาการเรื่อง “น้ำท่วม ดินถล่ม แก้ไขได้จริงหรือ” วันที่ 25 เมษายน 2554 ณ ห้องประชุม FORTROP ขั้น 3 ตึกคณะวนศาสตร์ 60 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (หน้า1-16). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
องค์การบริหารส่วนตำบลกรุงชิง. (2557). จังหวัดนครศรีธรรมราช. ค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2557, จาก: http://www.krungching.go.th/history.php.
อรอนงค์ บุญคล่อง. (2552). โปรแกรมแมททิเมติกาสำหรับ แคลคูลัส 1. นครศรีธรรมราช: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
Choudhury, B. J., & B. J. Blanchard. (1983). Simulating soil water recession coefficients for agricultural watersheds. Water Resources Bulletin, 19, 241-247.
Keetacha. (2554). ปภ. รายงานยังมีสถานการณ์อุทกภัยใน 7 จังหวัดภาคใต้. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2561, จาก: http://www.thaihealth.or.th/Content/20905-ปภ.%20รายงานยังมีสถานการณ์อุทกภัยใน%207%20จังหวัดภาคใต้.html.
Linsley, R. K., Kohler, M. A., & Paulhus, J.L.H. (1949). Applied Hydrology, First Edition. New York: McGraw-Hill Book company, Inc.