ผลกระทบต่อสัตว์น้ำและเศรษฐกิจจากการประมงผีของลอบปูม้าแบบพับได้ บริเวณเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำวัยอ่อนสี่หมู่บ้าน จังหวัดตรัง
Main Article Content
Abstract
The study aims to investigate the impacts on species and economic loss of ghost fishing on collapsible vertical crab trap, size diameter of 50 cm covered with a green polyethylene net as mesh size of 5.0 cm. The 60 traps were examined by simulated lost-fishing gears experiment, with collected monitoring from December 2017 to January 2018 in the aquatic larvae conservation area of four villages, Trang province.
The results showed that the 51 days of the experiment, 68 individuals for 13 different species were entrapped. These were classified of 37 individuals (54.4%) of 7 species as marketable value. The economics loss from ghost fishing was 863 baht (14.38 per crab trap). To reduce the negative impacts of ghost fishing, recommend that future traps should be better escape vent to release small-sized of entrapped.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
บรรจง เทียนส่งรัศมี. (2551). ถอดรหัสปูม้า “จากวิกฤตสู่ระบบการผลิตที่ยั่งยืนเพื่อความอยู่ดีมีสุขของชุมชน”. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย.
พิสิฐ ภูมิคง. (2548). ประสิทธิภาพการจับและการเลือกจับปูทะเลของลอบปูแบบพับได้ในคลอง
หงาว จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
วิทยา พันธะกิจ สุจิต ศิริรักษ์ และ สมศักดิ์ ศิริรักษ์. (2548). การเพิ่มผลผลิตและการประมงปูทะเลบริเวณอ่าวพังงา. ใน เอกสารรายงานประจำปี 2548 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลฝั่งอันดามัน. กรุงเทพฯ. กรมประมง.
ศรีประภา โฮ่ลิม. (2551). การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการจับปูทะเลของเครื่องมือลอบปูแบบพับได้. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์บัณฑิต. มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ชุมพร.
สันติพงษ์ ปุตสะ อนุกรณ์ บุตรสันติ์ และสุริยัน ธัญกิจจานุกิจ (2556). การทดลองการประมงผีของลอบปูแบบพับได้. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุภาพ ไพรพนาพงศ์. (2538). ปริมาณการจับและชีววิทยาบางประการของปูทะเลในจังหวัดระนอง. ใน เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 42/2538 สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดระนอง, กรุงเทพฯ. กรมประมง.
อนุชา ส่งจิตต์สวัสดิ์ ธีรยุทธ ศรีคุ้ม มานะ พงษ์ทองเจริญ และประภาส บินร่าหมาน. (2548). การศึกษาประสิทธิภาพการจับของลอบปูแบบพับได้. ระยอง: ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันออก กรมประมง.
Al-Masroori, H.S., Al-Oufi H. and McShane P. (2009). Causes and Mitigations on Trap Ghost Fishing in Oman: Scientific Approach to Local Fishers’ Perception. Fish. Aqut. Sci. 4(3), 129–135.
Bellchambers, L.M. and de Lestang, S. (2005). Selectivity of different gear types for sampling the blue swimmer crab, Portunus pelagicus L. Fishery Research. 73, 21-27.
Boutson, A., Mahasawasde C., Mahasawasde S., Tunkijjanukij S. and Arimoto T. (2009). Use of escape vents to improve size and species selectivity of collapsible pot for blue swimming crab Portunus pelagicus in Thailand. Fish. Sci. 75, 25–33.
Songrak, A., Bodhisuwan W., Yoocharern N., Udomwong W. and Thapanand T. (2014). Reproductive Biology of the Blue Swimming Crab, Portunus pelagicus (Linnaeus, 1758) in the Coastal Waters of Trang Province, Southern Thailand. Kasetsart University Fisheries Research Bulletin. 38(2), 27-40.