Diversity of Plant Species and Utilization in the Botanical Building area, Faculty of Science, Thaksin University, Phatthalung Campus ความหลากหลายระดับชนิดของพืชและการใช้ประโยชน์ในพื้นที่บริเวณ รอบอาคารปฏิบัติการพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
Main Article Content
Abstract
The objectives of the research; namely, diversity of plant species and utilization around the Botanical Building area, Faculty of Science, Thaksin University, Phatthalung Campus, the were to collect and manipulate plant database files for developing the flora information system of Faculty of Science. The observation was coordinated with the local Ethnobotany experts, queried some local plant names and utilization, and examined the plant taxonomy. The results found 73 species and 45 families: 8 species, 6 families of ferns and allies; 1 species, 1 family of Gymnosperms and 64 species, 38 families of Angiosperms. The most abundance of Angiosperm was Acanthaceae and Araceae. There were 5 species in each family. The second-most abundance were Euphorbiaceae, Apocynaceae, Myrtaceae and Polypodiaceae. There were 3 species in each family. There were 6 types of plant habitat, including, 23 species of herbs (31.50%), 19 species of shurbs (26.03%), 14 species of vines (19.18%), 10 species of trees (13.70%), 6 species of epiphytes (8.22%) and 1 species of palm (1.37%). The utilization of plants could be divided into 4 groups, including 60 species of ornamental plants, 42 species of medicinal plants, 16 species of food plants, and 8 species of implementing plants and others. Some plants were utilize in more than 1 group, including 18 species of medicinal and ornamental plants, 3 species of medicinal and food plants, 3 species of medicinal and implement plants and 1 species of food and ornamental plants.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
กนกอร เรืองสว่าง. (2561). ความหลากหลายทางชีวภาพและสายสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของพืชในเชิงลึก: กรณีศึกษาพืชวงศ์ Acanthaceae. รายงานการฝึกอบรมและดูงานภายใต้โครงการ Tropical plant indentification couse. กรุงเทพฯ.
ก่องกานดา ชยามฤต. (2551). ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
เต็ม สมิตินันทน์. (2557). ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557). กรุงเทพฯ: สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.
ทิพย์ทิวา สัมพันธมิตร เสาวลักษณ์ รุ่งตะวันเรืองศรี นันทิดา สุธรรมวงศ์ วิชุดา เกตุใหม่ และสมพงษ์ โอทอง. (2554). การสำรวจชนิดพืชผักพื้นบ้านด้านการดูแลสุขภาพโดยการบริโภคในพื้นที่อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 14(1), 53-66.
พาตีเมาะ อาแยกาจิ ฉันทนา รุ่งพิทักษ์ไชย มูฮำหมัดตายุดิน บาฮะคีรี ซูไบดี โตะโมะ และนัสรี มะแน. (2559). ศึกษาความหลากหลายของพืชวงศ์บุกบอน ในเส้นทางศึกษาธรรมชาติหุบเขาลำพญา จังหวัดยะลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5. ยะลา.
มูฮาหมัดตายุดดีน บาฮะคีรี พาตีเมาะ อาแยกาจิ ซูไบดี โตะโมะ และนัสรี มะแน. (2561). รายงานวิจัยความหลากหลายของพรรณไม้หอมในพื้นที่หุบเขาลำพญา ตำบลลำพะยา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา. ยะลา.
มูฮาหมัดตายุดดีน บาฮะคีรี และฉันทนา รุ่งพิทักไชย. (2554). ความหลากหลายของไม้ป่ากินได้ในหุบเขาลำพะยา กรณีศึกษาพืชใบเลี้ยงคู่. วารสารวิทยาสตร์และเทคโนโลยี, 15(1), 64-72.
วงศ์สถิต ฉั่วสกุล. (2548). อนุกรมวิธานพืชสมุนไพร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2561). การดำเนินงานตามเป้าหมายของกลยุทธ์ทั่วโลกสำหรับการอนุรักษ์พืชในประเทศไทย (1-7). การประชุมเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นต่อการดำเนินงานโครงการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานแห่งชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ. กรุงเทพฯ.
สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2561). สถานภาพปัจจุบันด้านความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย (1). การประชุมเพื่อรับฟังข้อคิดเห็นต่อร่างรายงานแห่งชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ. กรุงเทพฯ.
สุนทรี จีนธรรม ปัณณิรภัส ถกลภักดี และจีรภัศธ์ อัฐฐิศิลป์เวท. (2558). การศึกษาความหลากหลายของพรรณพืชสมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยใช้วิธีกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านควนดงปัง ตำบลดงขี้เหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี. วารสารวิจัยสหวิทยาการไทย, 10(3), 1-8.
หทัยรัตน์ อุเส. (2559). การศึกษาพฤกษศาสตร์พื้นบ้านและการใช้ประโยชน์ในเขาคอหงส์ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.
อชิรญา คําจันทร์ศุภสิน จุรีภรณ์ นวนมุสิก วราศรี แสงกระจ่าง และวันดี แก้วสุวรรณ. (2558). ความหลากหลายและการใช้ประโยชน์ทางอาหารของพืชผักท้องถิ่นในพื้นที่ตำบลกรุงชิง อําเภอนบพิตํา จังหวัดนครศรธีรรมราช. วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช, 34(2), 52-63.
อรทัย เนียมสุวรรณ นฤมล เส้งนนท์ กรกนก ยิ่งเจริญ และพัชรินทร์ สิงห์ดำ. (2555). พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของพืชกินได้จากป่าชายเลนและป่าชายหาดบริเวณคาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 40(3), 981-991.
อุฑารัตน์ ภู่ไพบูลย์. (2536) ตีนเป็ด ไม้มีค่าทางเศรษฐกิจชนิดใหม่. การประชุมวิชาการป่าไม้ ประจำปี 2536. กรุงเทพฯ.
อุทิศ กุฎอินทร์. (2551). ระบบการจําแนกสังคมพืชคลุมดินของประเทศไทย. วารสารวิจัยพืชเขตร้อน, 1(1), 1-21.