Development of a Complete Rice Milling Machine for Khai Mod Rin Rice การพัฒนาเครื่องสีข้าวแบบครบวงจรสำหรับสีข้าวไข่มดริ้น
Main Article Content
Abstract
The aim of this research was to develop a complete Khai Mod Rin rice milling machine that combines the threshing, drying, and milling of rice in one device. This rice milling machine can be operated continuously with the bucket elevator conveying the raw material, which reduces the production time. The product obtained is inexpensive and can mill both brown rice and white rice. It is small and suitable for the production capacity of a household or a communal enterprise. The test method of the rice milling machine was divided into 4 steps: threshing, dehumidification, milling brown rice, and milling white rice. From step 1 to step 3, 100 kg of paddy was used for each test. In step 4, 100 kg of brown rice was used for each test. The results of the tests revealed that 1) the threshing step: threshing the paddy harvested with the sickle and the Kae (a harvesting tool used by southern Thai farmers to collect the rice one by one) took 14.15 and 7.27 minutes, respectively. 2) The step of dehumidification: after the paddy was dried at 70 degrees Celsius for 3 hours, the moisture content was 12.6 percent. 3) The step of milling brown rice: the average yield of brown rice was 64.4 kg. The average rice milling time was 33.8 hours. The average maturity of the rice was 79.2 percent. 4) The step of milling white rice: the average yield of white rice was 84.4 kg. The average time for polishing rice was 4.24 hours. The average maturity of the rice was 88.5 percent. 5) The electricity cost of milling the paddy into the white rice was 1.55 baht per 1 kg of paddy.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ถือเป็นลิขสิทธ์ของวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชก่อนเท่านั้น
The content and information in the article published in Wichcha journal Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, It is the opinion and responsibility of the author of the article. The editorial journals do not need to agree. Or share any responsibility.
References
ชัยยันต์ ใจบุญมา วสันต์ ยศเสนา และสุขสถิตย์ ขาวหล้า. (2558). การสร้างและศึกษาเครื่องนวดข้าวแบบป้อนฟ่อนข้าว. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ธนัสถ์ นนทพุทธ กรภัทร เฉลิมวงศ์ ศักดิ์ชัย ตันติวิวัทน์ และณชพร รัตนาภรณ์. (2558). เครื่องสีข้าวกล้องขนาดเล็กสำหรับครัวเรือน. วารสารวิชาการและวิจัย มทร. พระนคร, (พิเศษ), 489-498.
ธีรศาสตร์ คณาศรี ปวริศ อุตทอง และสุภาภรณ์ ยอดสำโรง. (2560). แนวทางการอบแห้งข้าวเปลือกด้วยเครื่องอบแห้งแบบกระบะลมร้อน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 3(พิเศษ), 55-58.
ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช และศักดา อินทรวิชัย. (2562). การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์เครื่องสีข้าวขนาดเล็กระดับชุมชน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 29(2), 237-246.
พิชัย จันทร์มณี. (2549). เครื่องสีข้าวกล้องขนาดเล็กแบบหยอดเหรียญ. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.
พิรสิทธิ์ ทวยนาค มณฑล ชูโชนาค มุสตาฟา ยะภา และประชา บุณยวานิชกุล. (2557). การทบทวนพัฒนาการของการลดความชื้นข้าวเปลือกในทางอุตสาหกรรม. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 9(1), 68-74.
ภัทราวุธ บุญประคอง คนึงนิต ปทุมมาเกสร และเอนก เทียนบูชา. (2563). การหาประสิทธิภาพของเครื่องสีข้าวขนาดเล็กสำหรับการสีข้าวพันธุ์การค้าจังหวัดชัยนาท. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 15(2), 105-117.
วิวัฒน์ ไม้แก่นสาร และมลฤดี จันทรัตน์. (2558). การดำเนินงานและปัญหาของโรงสีข้าวชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7(2), 17-27.
ศูนย์เครือข่ายข้อมูลอาหารครบวงจร. (2561). Rice milling food wiki. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2563, จาก: http://www.foodnetworksolution.com.
สมชาย ชวนอุดม และวินิต ชินสุวรรณ. (2554). อิทธิพลของการออกแบบชุดนวดของเครื่องเกี่ยวนวดข้าวแบบไหลตามแกนที่มีต่อความสูญเสียจากการเก็บเกี่ยวเมื่อเก็บเกี่ยวข้าวหอมมะลิ. วารสารวิจัย มข., 16(3), 252-260.
สำนักงานสถิติ จังหวัดนครศรีธรรมราช. (2561). ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดนครศรีธรรมราช. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2563, จาก: http://nksitham.nso.go.th.
สุชาติ ธนสุขประเสริฐ ธนิต สวัสดิ์เสวี สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา และสมชาติ โสภณรณฤทธิ์. (2555). การอบแห้งข้าวเปลือกด้วยเครื่องอบแห้งแบบกระแสชน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 1(2), 1-10.
สุรพงษ์ โซ่ทอง และไกรสร รวยป้อม. (2559). การอบแห้งข้าวเปลือกงอกด้วยเทคนิคฟลูอิไดซ์เบดโดยใช้ไอน้ำร้อนยวดยิ่ง. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 10(3), 88-97.
สุรสิทธิ์ ช่อวงศ์. (2553). การสร้างเครื่องสีข้าวกล้อง. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 2(1), 133-143.
เอนก สาวะอินทร์ ฌานิกา แซ่แง่ ชูกลิ่น และกัตตินาฏ สกุลสวัสดิพันธ์. (2564). การพัฒนาระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษข้าวโดยถังปฏิกรณ์ไร้อากาศแบบแผ่นกั้นประยุกต์ (MABR). วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 40(1), 121-134.
Weerachet, J., Natthiga, S. and Apinya, C. (2010). Industrial paddy drying and energy saving options. Journal of Stored Products Research, 46(2010), 209-213.
Zhong, T., Ben, Z., Meilin, W. and Haotian, Z. (2021). Damping behaviour of a prestressed composite beam designed for the thresher of a combine harvester. Biosystems engineering, 204(2021), 130-146.