การส่งบทความ

เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อส่งบทความ

รายการตรวจสอบก่อนส่งบทความ

ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อ ดังต่อไปนี้ และบทความอาจถูกส่งคืนให้กับผู้แต่งกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหมด
  • The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
  • The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, or RTF document file format.
  • Where available, URLs for the references have been provided.
  • The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
  • The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines.

คำแนะนำผู้แต่ง

การเตรียมต้นฉบับ

 

  1. ต้นฉบับ เผยแพ่รบทความเป็นภาษาไทย โดยใช้ตัวอักษร TH Sarabun NEW ขนาดตัวอักษร 16 ตัวหนา ในส่วนของหัวข้อเรื่อง และขนาดตัวอักษร 15 ตัวปรกติ ในส่วนของเนื้อหา พิมพ์หน้าเดียว เว้นขอบทั้ง 4 ด้าน 1 นิ้ว (2.5 ซม.) พร้อมระบุเลขหน้า ความยาวของเนื้อเรื่อง รวมรูปภาพ ตาราง และเอกสารอ้างอิงต้องไม่เกิน 10 หน้า
  2. ชื่อเรื่อง ต้องมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรกระชับและตรงกับเนื้อเรื่อง ขนาดตัวอักษร 18 ตัวหนา
  3. ชื่อผู้แต่ง และสถานที่ติดต่อ ต้องมีชื่อเต็ม-นามสกุลเต็มทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาดตัวอักษร 15 ตัวหนา และระบุหน่วยงานหรือสถาบันที่สังกัด ของผู้แต่งหลักและผู้แต่งร่วมทุกคน และ E-mail address ของผู้แต่งหลักไว้ด้วย ขนาดตัวอักษร 12 ตัวปรกติ
  4. บทคัดย่อ (Abstract) บทความวิจัย/บทความทางวิชาการอื่น ๆ จะต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความยาวไม่เกิน 15 บรรทัด โดยเขียนให้กะทัดรัด ตรงประเด็น และให้สาระสำคัญ
  5. คำสำคัญ (Keywords) ต้องมีคำสำคัญทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษไว้ท้ายบทคัดย่อของแต่ละภาษา อย่างละไม่เกิน 5 คำ
  6. เนื้อเรื่อง
  • คำนำ อธิบายความสำคัญของปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย  อาจรวมการตรวจเอกสารเข้าไว้ด้วย ในการอ้างอิงเอกสารให้เขียนชื่อผู้แต่ง และปีที่ตีพิมพ์ อยู่ในวงเล็บเดียวกัน หรือเขียนชื่อผู้แต่ง แล้วเขียนปีที่ตีพิมพ์ ไว้ในวงเล็บแล้วแต่กรณี เฉพาะภาษาอังกฤษ ดังนี้  “..........โรคใบหงิกมีพบทั่วไปในประเทศบังคลาเทศ จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์     ศรีลังกา ไต้หวัน ไทย (Boccardo and Milne, 1984; Ling et al., 1978) ในประเทศไทยนั้น นอกจากก่อความเสียหายกับ     ข้าวปลูกทั้งชนิด Japonica และ Indica (Oryza sativa) พันธุ์ต่างๆ แล้ว Thawat (2001) ยังพบว่า ทำความเสียหายได้กับข้าวไร่และข้าวป่าต่างๆ..........”
  • อุปกรณ์และวิธีการ/วิธีดำเนินการวิจัย อธิบายเครื่องมือ พร้อมระบุวิธีการวิจัย วิธีการเก็บข้อมูล ระยะเวลาและปีที่ทำการวิจัย รวมทั้งวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล  ให้บรรยายโดยสรุปและไม่จำเป็นต้องระบุวิธีการที่เป็นที่รู้กันทั่วไป
  • ผลการวิจัย ไม่จำเป็นต้องแสดงวิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ แต่ให้เสนอในรูปของตาราง และรูปภาพโดยสรุปหลังจากวิเคราะห์ทางสถิติแล้ว ทั้งนี้ คำอธิบายและรายละเอียดต่าง ๆ ของตารางและรูปภาพ ต้องเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น โดยมีความชัดเจน กะทัดรัด และมีหมายเลขกำกับด้านบทของตารางและด้านล่างของรูปภาพ และเมื่ออ้างถึงในเนื้อหาให้ใช้เป็นคำว่า Table และ Figure
  • การวิจารณ์ผล การสรุปผล  และข้อเสนอแนะ  ควรวิจารณ์ผลการวิจัยพร้อมทั้งสรุปประเด็น และสาระสำคัญของงานวิจัย  หรือให้ข้อเสนอแนะบนพื้นฐานของผลการวิจัย

       หมายเหตุ:   หน่วยวัดตามระบบต่างๆ ให้ใช้ตัวย่อตามมาตรฐานในการเขียนที่กำหนดไว้  เช่น  เซนติเมตร = ซม.  ตารางเมตร = ตร.ม.  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม = มก./กก.  แต่ถ้าเป็นหน่วยวัดที่มีพยางค์เดียวให้ใช้คำเต็มตามปรกติ เช่น เมตร  กรัม  ลิตร 

  1. กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณแก่ผู้ให้ทุนวิจัย หรือผู้ที่ได้ให้ความช่วยเหลือในการวิจัย
  2. เอกสารอ้างอิง รายชื่อเอกสารที่ใช้เป็นหลักในการค้นคว้าวิจัยและมีการอ้างถึงในเนื้อหา ต้องแสดงเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น กรณีที่อ้างอิงจากเอกสารภาษาไทยหรือภาษาอื่นๆ ให้แปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยมีวงเล็บกำกับท้ายเอกสาร [in Thai] หรือภาษาอื่นๆ ตามคำแนะนำวิธีการเขียน ดังนี้

 

การเขียนเอกสารอ้างอิง

การเขียนอ้างอิงภายในเนื้อหา

ในการอ้างอิงเอกสารให้ใช้นามสกุลผู้แต่ง และปีที่ตีพิมพ์ อยู่ในวงเล็บเดียวกัน หรือเขียนนามสกุลผู้แต่ง แล้วเขียนปีที่ตีพิมพ์ ไว้ในวงเล็บแล้วแต่กรณี โดยเป็นภาษาอังกฤษ ดังนี้ 

“..........โรคใบหงิกมีพบทั่วไปในประเทศบังคลาเทศ จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย ฟิลิปปินส์     ศรีลังกา ไต้หวัน ไทย (Boccardo and Milne, 1984; Ling et al., 1978) ในประเทศไทยนั้น นอกจากก่อความเสียหายกับ     ข้าวปลูกทั้งชนิด Japonica และ Indica (Oryza sativa) พันธุ์ต่าง ๆ แล้ว Thawat (2001) ยังพบว่า ทำความเสียหายได้กับข้าวไร่และข้าวป่าต่าง ๆ..........”

 

  1. บทความจากวารสารวิชาการมาตรฐาน

      1.1  ผู้เขียนคนเดียวหรือหลายคน

ชื่อผู้เขียนบทความคนที่ 1,/ผู้เขียนบทความคนที่ 2/และ/ผู้เขียนบทความคนสุดท้าย.//ปีที่พิมพ์.//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร/

            เลขปีที่(เลขฉบับที่):/เลขหน้า.

Koiprasert, H. and P. Niranatlumpong.  2004.  Investigation of method for stainless steel welding wire as a replacement for arc wire comsumables.  Songklanakarin Journal of Science and Technology. 27(1): 91-100.  [in Thai]

Nadeem, M.Y. and M. Ibrahim.  2002.  Phosphorus management in wheat-rice cropping system.  Pakistan Journal of Soil Science. 21(4): 21-23.

Chowdhury, M.A.H., R. Begum, M.R. Kabit and H.M. Zakir.  2002.  Plant and animal residue decomposition

and transformation of S and P in soil.  Pakistan Journal of Biological Sciences 5(7): 736-739.

  1. หนังสือ

      2.1  ผู้เขียนคนเดียวหรือหลายคน

ชื่อผู้แต่งคนที่ 1,/ผู้แต่งคนที่ 2/และผู้แต่งคนสุดท้าย.//ปีที่พิมพ์.//ชื่อหนังสือ.//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).//สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์.// จำนวนหน้า.

Peyachoknagu, S.  2000.  Pan Thu Vis Sa Wa Kum.  Bangkok: Kasetsart University Press.  256 p.  [in Thai]

Aksornkoae, S. 1999.  Ecology and Management of Mangroves.  Bangkok: Kasetsart University Press.  198 p.

Rajeshwar, K. and J.G. Ibanez.  1997.  Environmental Electrochemistry.  San Diego: Academic Press.  327 p.

  • บทหนึ่งในหนังสือ

ชื่อผู้เขียนบทความ.//ปีที่พิมพ์.//ชื่อบทความ.//น./เลขหน้าที่ปรากฏเรื่อง.//ใน/ชื่อผู้รับผิดชอบ.//ชื่อหนังสือ.//รายละเอียดอื่นๆ (ถ้ามี). //ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).//สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์.

Hill, S.E.  1996.  Emultions.  pp. 153-185.  In Hall, G.M. (ed.).  Methods of Testing Protein Functionality.

London: Chapman & Hall.

Jacober, L.F. and A.G. Rand.  1982.  Biochemical of Seafood.  pp. 347-365.  In Martin, R.E., G.J. Flick, C.E. Hebard

and D.R. Ward (eds.).  Chemistry and Biochemistry of Marine Food Products.  Westport: AVI Inc.

      2.3  หนังสือที่มีผู้รับผิดชอบในหน้าที่เป็นผู้รวบรวม ผู้เรียบเรียง หรือบรรณาธิการ

ชื่อผู้รับผิดชอบ.//(หน้าที่รับผิดชอบ).// ปีที่พิมพ์.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).//สถานที่พิมพ์:/สำนักพิมพ์.//จำนวนหน้า.

            Tosirichok, K. (Editor).  1994.  Karn Rak Sa Doi Sa Moon Pri.  1st.  Bangkok: Mayik Publisher.  172 p.  [in Thai]

Byrappa, K. and M. Yoshimura.  (eds.).  2001.  Handbook of Hydrothermal Technology

New Jersey: Noyes Publication.  854 p.

 

 

 

  1. เอกสารอื่นๆ

      3.1  วิทยานิพนธ์

ชื่อผู้แต่ง.//ปีที่พิมพ์.//ชื่อวิทยานิพนธ์.//ระดับของวิทยานิพนธ์.//ชื่อสถาบันการศึกษา.//จำนวนหน้า.

Soitongcome, P.  1987.  Tannin Extraction from Rhizophora’s Bark for Retanning.  Master Thesis.         Kasetsart University.  113 p.  [in Thai]

Saiklao, W.  2002.  Adaptive Bandwidth Allocation Control for Virtual Paths in Broadband Networks.  Doctoral Dissertation.  Georgia Institute of Technology.  86 p.

  • รายงานการประชุมวิชาการ รายงานการสัมมนา  ปาฐกถา  รายงานประจำปี 

ชื่อผู้เขียนบทความ.//ปีที่พิมพ์.//ชื่อบทความ.//น./เลขหน้าที่ปรากฏเรื่อง.//ใน/ชื่อการประชุม.//รายละเอียดอื่นๆ (ถ้ามี).//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).//สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.

Summadee, P. and B. Leenanon.  2013.  Production of Probiotic Kefir Product.  p. 109-116  In Proceedings of the 12th MJU Annual Conference (Poster).  Chiang Mai: Maejo University.  [in Thai]

Coates, J.  2013.  Clinical Trial for Canine Degenerative Myelopathy.  pp. 29-31.  In Proceedings of ACVIM Specialty Symposium (Pre-forum) 12-15 June 2013.  Seattle: American College of Veterinary Internal Medicine (ACVIM).

  • รายงานผลการวิจัย

ชื่อผู้เขียนงานวิจัย.//ปีที่พิมพ์.//ชื่องานวิจัย.//จำนวนหน้า.//ใน/รายงานผลการวิจัย.//สถานที่พิมพ์:/ชื่อหน่วยงาน.

Pooprompan, P., K. Duangsong and R. Sribaopern.  2001.  DNA fingerprinting of Thai native orchid        Vanda coerulea.  62 p.  In  Research Report.  Chiang Mai: Maejo University.  [in Thai]

Theraumpon, N.  2003.  Automatic Classification of White Blood Cells in Bone Marrow Images.  74 p. 

In  Research Report.  Chiang Mai: Chiang Mai University.

  • บทความจากวารสาร

ชื่อผู้เขียนบทความ.//ปีที่ตีพิมพ์.//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร.//ปีที่ของนิตยสาร(เล่มที่): เลขที่หน้าที่อ้างอิง.

Srinuansom, K.  2018.  Half-artficial breeding of Monopterus albusMaejo Vision 18(4): 33-37.  [in Thai]

  • บทความจากหนังสือพิมพ์

ชื่อผู้เขียนบทความ.//ปีที่ตีพิมพ์.//ชื่อบทความ.//ชื่อหนังสือพิมพ์.//(เดือน/วันที่/ปี):/เลขที่หน้าที่อ้างอิง.

Manapaisarn, S.  2006.  Kra Sate Tra Korn Thai Nai A Na Koth.  Thai Rath.  (January 10, 2006): 7.  [in Thai]

 

  • บทความออนไลน์
  • มีเลข DOI (Digital Object Identifier)

ชื่อผู้เขียนบทความ.//ปีที่ตีพิมพ์.//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร// ปีที่:/หน้าเริ่มต้น-สิ้นสุด. Doi/:/xxxxxxxxxxxxxx

Rodcharoen, E., N.L. Bruce and P. Pholpunthin.  2017.  Cirolana phuketensis, a new species of marine isopod

(Crustacea, Isopoda, Cirolanidae) from the Andaman sea coast of Thailand.  ZooKeys 695(2): 1-17. DOI: 10.3897/zookeys.695.13771.

  • ไม่มีเลข DOI (Digital Object Identifier)

ชื่อผู้เขียนบทความ.//ปีที่ตีพิมพ์.//ชื่อบทความ.//ชื่อวารสาร.// ปีที่/หน้าเริ่มต้น-สิ้นสุด.//[Online].//Available

http://www.xxxxxxxxxxx /(วันที่สืบค้น).

 

 

Hasler, K., S. Bröring, S.W.F. Omta and H.W. Olfs.  2015.  Life cycle assessment (LCA) of different fertilizer

product types. European Journal of Agronomy 69: 41-51. [Online]. Available https://doi.org/10.1016/j.eja.2015.06.001 (March 20, 2020)

  1. แหล่งข้อมูลอิเลคทรอนิกส์

            ผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบ.//ปีที่บันทึกข้อมูล.//ชื่อเรื่อง.//[ระบบออนไลน์].//แหล่งที่มา/ระบุแหล่งการติดต่อเครือข่าย          

หรือการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล ชื่อแฟ้มข้อมูล/( เดือน/วันที่/ปี ที่ค้นข้อมูล).

Maythiyanon, T., N. Piriyarungroj and S. Soponarit.  2004.  Novel vortex-fluidized bed combustor with two combustion chambers for rice-husk fuel.  SJST 26(6): 875-893.  [Online].  Available

http://www2.psu.ac.th/PresidentOffice/EduService/Journal/Firstpage.htm (September 22, 2005). 

[in Thai]

National Economic and Social Development Board (NESDB).  2001.  Input-output tables of Thailand. 

            [Online].  Available http://www.nesdb.go.th (August 8, 2001).

Singh, M. and R.P. Singh.  2001.  Siderophore producing bacteria-as potential biocontrol agents of mushroom disease.  [Online].  Available http://www.uio.no/conferences June2000.htm# Samuels

(July 3, 2001).

ปรับปรุง ณ วันที่ 29 กันยายน 2566

นโยบายส่วนบุคคล

ชื่อและอีเมล์ผู้แต่งที่กรอกในเว็บไซต์วารสารนี้จะใช้เฉพาะวัตถุประสงค์การตีพิมพ์ในวารสารนี้เท่านั้น และจะไม่เผยแพร่เพื่อวัตถุประสงค์อื่นหรือเผยแพร่แก่บุคคลอื่น