พลวัตของตลาดและการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการค้าไก่พื้นเมืองในจังหวัดพัทลุง

ผู้แต่ง

  • ดำรงค์รักษ์ รักบุรี สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา
  • บัญชา สมบูรณ์สุข สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา
  • สุธา วัฒนสิทธิ สาขาวิชานวัตกรรมการผลิตสัตว์และการจัดการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา

คำสำคัญ:

ไก่พื้นเมือง , โครงสร้างตลาด , ส่วนเหลื่อมการตลาด, ประสิทธิภาพการตลาด

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปของการซื้อขายไก่พื้นเมือง โครงสร้างการตลาด พฤติกรรมตลาด และผลการดำเนินงานการตลาดไก่พื้นเมืองในจังหวัดพัทลุง โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการค้าไก่พื้นเมือง 3 กลุ่ม คือ   ผู้รวบรวมระดับท้องถิ่น จำนวน 6 คน ผู้รวบรวมระดับจังหวัด จำนวน 4 คน ผู้ค้าปลีกไก่ชำแหละ จำนวน 16 คน ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล แล้ววิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและเชิงคุณภาพ จากการศึกษาพบว่า การซื้อขายไก่พื้นเมืองในตลาด จำแนกเป็นไก่มีชีวิตและไก่ชำแหละ โครงสร้างตลาดไก่มีชีวิตเป็นแบบตลาดผู้ขายมากราย ผู้ซื้อกึ่งน้อยราย โครงสร้างตลาดไก่ชำแหละเป็นตลาดผู้ซื้อมากราย ผู้ขายน้อยราย ผลการดำเนินงานตลาดไก่มีชีวิตของผู้รวบรวมระดับท้องถิ่น ส่วนเหลื่อมการตลาด 8.40 บาทต่อกิโลกรัม ประสิทธิภาพการตลาดจากราคา และประสิทธิภาพการตลาดทางเทคนิค 112.24 และ 9.17 ตามลำดับ ผู้รวบรวมระดับจังหวัด ส่วนเหลื่อมการตลาด 17.59 บาทต่อกิโลกรัม ประสิทธิภาพการตลาดจากราคา และประสิทธิภาพการตลาดทางเทคนิค 124.73 และ 5.04 ตามลำดับ ผลการดำเนินงานตลาดไก่ชำแหละของผู้ค้าปลีกซื้อไก่จากเกษตรกร ส่วนเหลื่อมการตลาด 63.04 บาทต่อกิโลกรัม ประสิทธิภาพการตลาดจากราคา และประสิทธิภาพการตลาดทางเทคนิค 191.41 และ 3.12 ตามลำดับ ผู้ค้าปลีกซื้อไก่จากผู้รวบรวม ส่วนเหลื่อมการตลาด 59.29 บาทต่อกิโลกรัม ประสิทธิภาพการตลาดจากราคา และประสิทธิภาพการตลาดทางเทคนิค 179.05 และ 2.21 ตามลำดับ

References

Ayieko., D.M.O., E.K. Bett and L.W. Kabuage. 2014. An analysis of the efficiency of indigenous chicken marketing channels in Makueni County, Kenya. The Journal of Agriculture and Development 3(2): 26-34.

Beierlein, J.G. and M.W. Woolverton. 1994. Agribusiness Marketing: The Management Perspective. New Jersey: Prentice Hall, Inc. 298 p.

Daniel, M. 2002. Agriculture Economic, First Edition (in Bahasa Indonesia). Jakarta: Bumi Aksara. 100 p.

Department of Livestock Development. 2023. Data on the number of livestock in Thailand 2023. [Online]. Available https://region6.dld.go.th/webnew/pdf/it6565.pdf (January 12, 2023). [in Thai]

Jaturasitha, S., S. Khiaosa-ard, A. Phongphaew, A. Leotaragul, S. Saitong, S. Apichatsrungkoon, V. Leangwunta and N. Longani. 2003. Effect of Strain, Sex, Weight and Muscle on Fat Quality of Thai Native and Crossbred Chickens (Gai Baan Thai). pp. 127-136. in Proceedings of 42th Academic Conference of Kasetsart University. Bangkok: Kasetsart University. [in Thail]

Ndathi, A., E. Muthiani., E. Kirwa., P. Kibet and H. Cheruiyot. 2012. Constraints and opportunities in indigenous chicken production and marketing in Mashuru and Loitoktok Divisions of Kajiado district. [Online]. Available http://www.kari.org/fileadmin/publications/10thProceedings/Volone/ConstraintOpportune.pdf (November 8, 2023).

Nochai, R. 2011. Structure Conduct Performance on Marketing of Durian in Chanthaburi Province. 67 p. In Research Report. Bangkok: King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. [in Thai]

Office of Agricultural Economics. 2009. Study of the Beef Cattle Marketing System. 89 p. In Report Research. Bangkok: Office of Agricultural Economics. [in Thai]

Office of Agricultural Economics. 2014. Study of Meat Goat Marketing. 67 p. In Research Report. Bangkok: Office of Agricultural Economics. [in Thai]

Phothiralert, N. 2001. Analysis of the Tilapia Market System in Mueang District, Khon Kaen Province. Master Thesis. Khon Kaen University. 109 p. [in Thai]

Phuthong, B. n.d. Market structure, market pricing and price discrimination. Bangkok: Suan Sunandha Rajabhat University. [Online]. Available https://elcls.ssru.ac.th/bunyaporn_ph/mod/resource/view.php?id=93 (November 8, 2023).

Preechasak, P. 2013. Principles of Microeconomics. 4th Ed. Bangkok: Thammasat University. 437 p. [in Thai]

Relucio, J.A. 2021. Value chain analysis of native chicken in selected Barangay of Partido. Technium 3: 50-66.

Richard, B. and K. Thomson. 2014. An Analysis of the value chain for indigenous Chickens in Zambia’s Lusaka and Central provinces. Journal of Agricultural Studies 2: 32-52.

Suksard, S., N., Chonlapap W. Hoamuangkaew and S. Jarusombuti. 2000-2002. Marketing system of hardboard in Thailand. Thai Journal of Forestry 19-21: 31-41.

Suwanlee, S. 2003. Marketing of Beef Cattle and Buffalo. 34 p. In Research Report. Ubon Ratchathani: Ubon Ratchathani University. [in Thai]

Wanichapichat., W. 2002. Native Chicken (Local Chicken) Good Stuff Exists. pp. 1-17. In Training documents: The Development of Indigenous Chicken production for a comprechicken breeders quality. Songkhla: Faculty of Natural Resources, Prince of Songkhla University. [in Thai]

Wattannachant, S., S. Benjakul and D.A. Ledward. 2004. Composition color and texture of Thai indigenous and broiler muscles. Poult. Sci. 83: 123-128.

Yakubu, A. 2010. Indigenous chicken flocks of Nasarawa State, Nigeria theircharacteristics, husbandry and productivity. Tropical and Subtropical Agro Ecosystems 12: 69-76.

Yuangket. A. 2017. Extension of Native Chickens Production and Marketing by Farmers in Danchang District, Suphan Buri Province. Master Thesis. Sukhothai Thammathirat Open University. 117 p. [in Thai]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-12-2024

How to Cite

รักบุรี ด. ., สมบูรณ์สุข บ. ., & วัฒนสิทธิ ส. . (2024). พลวัตของตลาดและการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการค้าไก่พื้นเมืองในจังหวัดพัทลุง. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 41(3), 229–239. สืบค้น จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/MJUJN/article/view/261472