ผลของทางใบปาล์มน้ำมันหมักแคลเซียมไฮดรอกไซด์ต่อปริมาณการกินได้ และการย่อยได้ในแพะ

Main Article Content

ภูวดล เหมชะรา
พีรวัจน์ ชูเพ็ง
ณันญรัตน์ คุ้มครอง
โสภณ บุญล้ำ

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของทางใบปาล์มน้ำมันหมักแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (calcium hydroxide treated oil palm frond, CTOPF) ต่อปริมาณการกินได้ และการย่อยได้ในแพะ โดยศึกษาในแพะลูกผสมพื้นเมือง-บอร์ 50% เพศผู้ อายุประมาณ 15-16 เดือน มีน้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 20±2.0 kg จำนวน 4 ตัว สุ่มแพะให้ได้รับอาหารตามแผนการทดลองแบบ 4 x 4 จัตุรัสลาติน ประกอบด้วย 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้รับCTOPF ที่ระดับ 0, 2, 4 และ 6% เสริมด้วยอาหารข้น 0.5%BW ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่าปริมาณการกินได้ของวัตถุแห้ง อินทรียวัตถุ โปรตีนรวม ผนังเซลล์ และลิโนเซลลูโลส ของแพะทั้ง 4 กลุ่ม ไม่แตกต่างทางสถิติ (P>0.05) อย่างไรก็ตาม สัมประสิทธิ์การย่อยได้ของวัตถุแห้ง อินทรียวัตถุ โปรตีนรวม ผนังเซลล์ เปอร์เซ็นต์โภชนะรวมที่ย่อยได้ และพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ ลดลงแบบโค้งกำลังสอง (P<0.01) แต่สัมประสิทธิ์การย่อยได้ของลิกโนเซลลูโลส เพิ่มขึ้นแบบเส้นตรง (P<0.01) นอกจากนี้ค่าเมแทบอไลท์ในกระแสเลือด (blood glucose, BUN and PCV) ของแพะที่ได้รับ CTOPF ทุกระดับไม่แตกต่างกัน (P>0.05) ดังนั้น สามารถใช้แคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่ระดับ 2-4% ในการปรับปรุงคุณภาพทางใบปาล์มน้ำมันสำหรับใช้เป็นอาหารแพะ

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)

References

จารุณี อิ่มเอิบ, อังคณา หาญบรรจง, องอาจ อินสังข์ และอรุณี อิงคกุล. 2551. องค์ประกอบทางเคมีและค่าการสลายตัวในกระเพาะรูเมนของวัตถุแห้ง และอินทรียวัตถุของทางใบปาล์มน้ำมัน. น.235-244. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46 29 มกราคม-1 กุมภาพันธ์ 2551. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ณัฐฐา รัตนโกศล. 2552. การใช้ทางใบปาล์มน้ำมันหมักร่วมกับกากน้ำตาลเป็นอาหารหยาบสำหรับแพะ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริทร์, สงขลา.

ธีระ เอกสมทราเมษฐ์, ชัยรัตน์ นิลนนท์,ธีระพงศ์ จันทรนิยม, ประกิจ ทองคำ และสมเกียรติ สีสนอง. 2548. การจัดการส่วนปาล์มน้ำมัน. ใน เส้นทางสู่ความสำเร็จการผลิตปาล์มน้ำมัน.ศูนย์วิจัยและพัฒนาการผลิตปาล์มน้ำมันคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

ประดิษฐ์ อาจชมพู, วุฒิชัย ศรีเผือก,และศิริศักดิ์ บริรักษ์ธนกุล. 2556. การพัฒนาการใช้ทางใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบสำหรับโคพื้นเมือง. น. 79-86 ใน: การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5 เรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน15-16 กรกฎาคม 2556. ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์เซ็นทรัลเวิลด์ ปทุมวัน, กรุงเทพฯ.

ประดิษฐ์ อาจชมภู, ศิริศักดิ์ บริรักษ์ธนกุล, เกียรติศักดิ์สร้อยสุวรรณ, สมจิตร ถนอมวงศ์วัฒนะ และสมพรจันทระ. 2551. การพัฒนาทางใบปาล์มน้ำมันเป็นแหล่งอาหารหยาบสำหรับแพะ.เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงแพะอย่างยั่งยืน งานแพะแห่งชาติครั้งที่ 5 ณ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ นครศรีธรรมราช 23 เมษายน 2551.

เมธา วรรณพัฒน์. 2533. โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง. สำนักพิมพ์ หจก. ฟันนี่พับบลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ.

สายัณห์ ทัดศรี. 2547. พืชอาหารสัตว์เขตร้อน. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สุรเดช เพชรอาวุธ, ปิ่น จันจุฬา และอนุสรณ์ เชิดทอง. 2560. ผลของทางใบปาล์มน้ำมันหมักด้วยยูเรียและแคลเซียมไฮดรอกไซด์ต่อปริมาณการกินได้ และเมแทบอไลท์ในกระแสเลือดของแพะ.วิทยาศาสตร์เกษตร. 48(2):161-168.

สุรเดช เพรชอาวุธ. 2561. ผลการใช้ทางใบปาล์มน้ำมันหมักด้วยยูเรียและแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในอาหารผสมเสร็จ ต่อการย่อยได้ของโภชนะนิเวศวิทยาในรูเมนและการใช้ประโยชน์ของไนโตรเจนในแพะ.วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.

Alam, M. R., A. K. M. A. Kabir, M. R. Amin, and D. M. McNeill. 2005. The effect of calcium hydroxide treatment on the nutritive and feeding value of Albiziaprocera for growing goats. Anim. Feed Sci. Technol. 122: 135–148.

AOAC. 1995. Official Methods of Analysis. 16th Edition. Assoc Association of Official Analytical Chemists, Arlington, VA.

Chaudhry. A. S. 1998. Nutrient composition digestion and rumen fermentation in sheep of wheat straw treated with calcium oxide sodium hydroxide and alkaline hydrogen peroxide. Anim. Feed Sci. Technol. 74: 315-328.

Chaudhry. A. S. 2000. Microscopic studies of structure and ruminal fungal colonization in sheep of wheat straw treated with different alkalis. Anaerobe. 6: 155-161.

Crocker, C. L. 1967. Rapid determination of urea-nitrogen in serum or plasma without deproteinization. Am. J. Med. Technol. 33: 361-365.

Devendra, C, and M. Burns. 1983. Goat Production in Tropics. 2nd Edition. Agricultural Bureau, Slough, UK.

Dias, A. M., Í. Tavo, L. C. V. Damasceno, G. T. Santos, C. C. B. F. Ítavo, F. F. Silva, É. Nogueira, and C. M. Soares. 2011. Sugar cane treated with calcium hydroxide in diet for cattle: intake, digestibility of nutrients and ingestivebehaviour. R. Bras. Zootec. 40: 1799-1806.

Hamchara, P., P. Chanjula, A. Cherdthong, and M. Wanapat. 2018. Digestibility, ruminal fermentation, and nitrogen balance withvarious feeding levels of oil palm fronds treated with Lentinussajor-caju in goats. Asian-Australas J. Anim. Sci. 31: 1619-1626.

Ishida, M., and O. Abu Hassan. 1997. Utilization of oil palm frond as cattle feed. Japan Agric. Res. Quart. 13: 41-47.

Islam, M., I. Dahlan, M. A. Rajion, and Z. A. Jelan. 2000. Productivity and nutritive values of different fraction of oil palm (Elaeisguineensis) frond. Asian Australas. J. Anim. Sci. 13: 1113-1120.

Jain, N. C. 1993. Essentials of Veterinary Hematology. 1st Edition. Lea and Febiger, PA.

Kaneko, J. J. 1980. Appendixes. In: Chinical Biochemistry of Domestic Animal, 3rd ed. In J. J. Kaneko (ed). New york, Academic Press.

Kawamoto, H., W. Z. Mohamed, N. I. M. Sukur, M. S. M. Ali, Y. Islam, and S. Oshio. 2001. Palatability, digestibilityand voluntary intake of processed oil palm fronds in cattle. Japan Agric. Res. Quar. 35: 195-200.

Kearl, L. C. 1982. Nutrient Requirements of Ruminants in Developing Countries. Ph.D. Thesis. Utah State University, Utah.

Lloyd, S. 1982. Blood characteristics and the nutrition of ruminants. Br. Vet. J. 138: 70-85.

Mertens, D. R. 1997. Creating a system for meeting the fiber requirements of dairy cows. J. Dairy Sci. 80: 1463-1481.

NRC. 1981. Nutrient Requirements of Goats: Angora, Dairy and Meat Goats in Temperate and Tropical Countries. National Academy Press, Washington, DC.

Pandey, A., S. Negi, P. Binod, and C. Larroche. 2015. Pretreatment of Biomass Processes and Technologies. 1st Edition. Elsevier, Amsterdam.

Steel, R. G. D., and J. H. Torrie. 1980. Principles and procedures of statistics: A Biometerial Approach. 2nd Edition. McGraw-Hill Book Co., New York.

Van Soest, P. J. 1994. Nutritional Ecology of the Ruminant. 2nd Edition. Cornell University Press, New York.

Van Soest, P. J., J. B. Robertson, and B. A. Lewis. 1991. Method for dietary fiber, neutral detergent fiber, and nonstarch polysaccharides in relation to animal nutrition. J. Dairy Sci. 74: 3583-3597.

Wanapat, M., M. Chenost, F. Munoz, and C. Kayouli. 1996. Methods for improving the nutritive value of fibrous feed: Treatment and supplementation. Ann. Zootech. 45: 89-103.

Zaman M. S, and E. Owen. 1995. The effect of calcium hydroxide and urea treatment of barley straw on chemical composition and digestibility in vitro. Anim. Feed Sci. and Technol. 51: 165-171.