การแก้การพักตัวและวัสดุเพาะที่เหมาะสมต่อต้นกล้ามะกล่ำต้น (Adenanthera pavonina L.)
Main Article Content
บทคัดย่อ
มะกล่ำต้น (Adenanthera pavonina L.) เป็นพืชตกแต่งสวนที่มีประโยชน์ เป็นอาหารสัตว์และยาได้
กลายเป็นพืชหายากในบางพื้นที่ การพักตัวเกิดจากเมล็ดแข็งยั้บยั้งการงอก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีแก้
การพักตัวของเมล็ด และศึกษาวัสดุเพาะที่เหมาะสมต่อการเติบโตของต้นกล้ามะกล่ำต้นสำหรับใช้ประโยชน์ในพื้นที่
โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พิบูลสงคราม ลักษณะของพืชอย่ใู นวงศ์ถั่วและวงศ์ย่อยสีเสียด
แบ่งเป็น 2 การทดลอง คือ 1) การชักนำการงอก 5 กรรมวิธีถูกใช้ทดสอบแก้การพักตัวของเมล็ด: การแช่น้ำการแช่กรด
การแช่ด่าง การแช่ฮอร์โมนพืช การทำบาดแผลแก่เมล็ด และเมล็ดธรรมดา (ชุดควบคุม) 100 เมล็ดต่อกรรมวิธี ถูกเพาะ
บนกระบะเพาะต้นกล้า นาน 1 สัปดาห์ในโรงเรือน จำนวน 2 ซ้ำต่อกรรมวิธี และ 2) วัสดุเพาะที่เหมาะสมต่อการเติบโต
ของต้นกล้า นำต้นกล้าขนาด 3 เซนติเมตร ปลูกในวัสดุเพาะ 8 ชนิด ศึกษาการเติบโต ได้แก่ ดินร่วนผสมมูลไก่, ดิน
ร่วนผสมมูลไก่และดาวเรือง, ดินร่วนผสมมูลนกพิราบ, ดินร่วนผสมมูลนกพิราบและดาวเรือง, ดินร่วนผสมมูลค้างคาว,
ดินร่วนผสมมูลค้างคาวและดาวเรือง, ดินร่วนผสมดอกดาวเรือง และดินร่วน (ชุดควบคุม) ต้นกล้า 9 ต้น ถูกปลูกใน
วัสดุเพาะแต่ละชนิด และนำแต่ละวัสดุเพาะ 3 ต้น ไปวางใน 3 โรงเรือน นาน 4 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า
1) การกระตุ้นการงอกของเมล็ดมะกล่ำต้นโดยแช่เมล็ดในกรดมีการงอกสูงที่สุด คือ 91% และ 2) ต้นกล้าที่ปลูกในดิน
ร่วนผสมมูลค้างคาวทั้งที่ใส่และไม่ใส่ดอกดาวเรืองทำให้ต้นกล้ามีการเติบโตดีกว่ากรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (P ≤ 0.5) การเติมดอกดาวเรืองในวัสดุเพาะสามารถช่วยลดปริมาณการใช้มูลสัตว์และช่วยเพิ่มความสูงของ
ต้นกล้าได้
Article Details
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
References
ของเมล็ดฟักข้าว. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 9 การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
สู่อาเซียน. หน้า 1-7.
ธีรพงศ์ ชมใจ. 2538. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโต ชนิดของกิ่ง และเวลาในการตัดชำต่อการเกิดรากของกิ่งตัดชำจำปี. ปัญหาพิเศษ
ปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นันทรัตน์ ศุภกำเนิด. 2558. การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับพืชสวน. สถาบันวิจัยพืชสวน. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. 98 หน้า.
ปิยะณัฎฐ์ ผกามาศ, อนงค์ภัทร เหมลา และมลปภา นาถึง. 2555. ผลของ NAA IBA และส่วนของกิงต่อการออกรากกิ่งปักชำสบู่ดำ.
การประชุมวิชาการแห่งชาติ ครั้งที่ 9. 6-7 ธันวาคม 2555. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. กรุงเทพฯ.
พงษ์ศักดิ์ พลเสนา. 2557. พืชสมุนไพรในสวนพฤกษศาสตร์และสวนรุกขชาติในประเทศไทย เล่ม 1. สำนักงานวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้
และพันธุ์พืช, กรุงเทพมหานคร. 315 หน้า.
มนูญ ศิรินุพงษ์, นงนุช วงศ์สินชวน และ สุจริต ส่วนไพโรจน์. 2557. การท?ำลายการพักตัวของเมล็ดและการกระตุ้นการเจริญของ
จาวตาลโตนด (Borassus flabellifer Linn.). แก่นเกษตร. 42 (พิเศษ): 386-390.
ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2552. การแก้การพักตัวของเมล็ดเหรียง (Parkia timoriana (DC.) Merr.).วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร.
40(3) (พิเศษ): 161-164.
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2544. สรีรวิทยาของพืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 237 หน้า.
ส่วนเพาะชำกล้าไม้. 2539. ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดสิงห์บุรี. สำนักส่งเสริมการปลูกป่า. กรมป่าไม้. หน้า 128-129.
สุบัณฑิต นิ่มรัตน์. 2549. จุลชีววิทยาทางดิน. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ. 280 หน้า.
สุริยา สาสนรักกิจ อัจฉรา ไชยองค์การ เปรมสุดา สมาน กนกอร จารุจารี วัชรินทร์ รัตนพันธ์ เดชา ศิลป์ศร และศิริพร วรดิถี. 2545.
การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และอาหารสัตว์จากขยะอินทรีย์ของชุมชน. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ.
อัจฉรา นิยมเดชา และมงคล คงเสน. 2556. เมทาบอลิซึมและคุณประโยชน์ของแคโรทีนอยด์ในการเพิ่มความเข้มสีไข่แดง.
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 5(4)(พิเศษ): 112-121.
อานฐั ตนั โช. 2549. เกษตรธรรมชาติประยกุ ต์ หลกั การ แนวคิด เทคนิคปฏิบตั ิในประเทศไทย. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ. ปทุมธานี. 300 หน้า.
Azani, N., M. Babineau, C.D. Bailey, H. Banks, A.R. Barbosa, R.B. Pinto, J.S. Boatwright, L.M. Borges, G.K. Brown,
A. Bruneau, E. Candido, D. Cardoso, K. Chung, R.P. Clark, A. de S. Conceição, M. Crisp, P. Cubas, Delgado-Salinas,
K.G. Dexter, J.J. Doyle, J. Duminil, A.N. Egan, M. de la Estrella, M.J. Falcão, D.A. Filatov, A.P. Fortuna-Perez,
R.H. Fortunato, E. Gagnon, P. Gasson, J.G. Rando, A.M. G. de A. Tozzi, B. Gunn, D. Harris, E. Haston, J.A. Hawkins,
P.S. Herendeen, C.E. Hughes, J.R.V. Iganci, F. Javadi, S.A. Kanu, S. Kazempour-Osaloo, G.C. Kite, B.B. Klitgaard,
F.J. Kochanovski, E.J.M. Koenen, L. Kovar, M. le Lavin, M. Roux, G.P. Lewis, H.C. de Lima, M.C. López-Roberts,
B. Mackinder, V.H. Maia, V. Malécot, V.F. Mansano, B. Marazzi, S. Mattapha, J.T. Miller, C. Mitsuyuki, T. Moura,
D.J. Murphy, M. Nageswara-Rao, B. Nevado, D. Neves, D.I. Ojeda, R.T. Pennington, D.E. Prado, G. Prenner,
L.P. de Queiroz, G. Ramos, F.L.R. Filardi, P.G. Ribeiro, M. de L. Rico-Arce, M.J. Sanderson, J. Santos-Silva,
W.M.B. São-Mateus, M.J.S. Silva, M.F. Simon, C. Sinou, C. Snak, É.R. de Souza, J. Sprent, K.P. Steele, J.E. Steier,
R. Steeves, C.H. Stirton, S. Tagane, B.M. Torke, H. Toyama, D.T. da Cruz, M. Vatanparast, J.J. Wieringa, M. Wink,
M.F. Wojciechowski, T. Yahara, T. Yi and E. Zimmerman. 2018. A new subfamily classification of the Leguminosae
based on a taxonomically comprehensive phylogeny. Taxon. 66(1): 44-77.
Bremmer, J.M. and C.S. Mulvaney. 1982. Total Nitrogen. In: Page, A.L. (Ed), Methods of Soil Analysis: Agronomy NO. 9,
Part 2: Chemical and Microbiological Properties. 2nd ed, American Society of Agronomy Madison, WI, USA. p. 595-624.
Burkill, I.H. 1966. A Dictionary of the Economic products of the Malay Peninsula, 2nd ed., vol. 1, ADH. Malaysia. 218 p.
Charoenpakdee, S. 2014. Using animal manure to grow lettuce (Lactuca sativa L.) in a homemade hydroponics system.
KKU Research Journal. 19: 256-261.
Hartmann, H.T., D.E. Kester, F.T. Davies and R.L. Geneve. 1997. Plants Propagation: Principles and Practices. 6 th ed.,
Prentice Hall Inc., New Jersey. USA. 223 p.
Horwitz, W. 2000. Official methods of analysis of AOAC International. 17th ed. AOAC International Gaithersburg MD, USA.
2,200 p.
Kramer, A., Hird, A., Shaw, K., Dosman, M. and Mims, R. 2011. Conserving North America’s threatened plants: Progress
report on Target 8 of the Global Strategy for Plant Conservation. Botanic Gardens Conservation. USA. 52 p.
Lewis, G., B. Schrire, B. Mackinder and M. Lock. 2005. Legumes of the world. Royal Botanic Gardens. Kew, England.
577 p.
Opota, O.D., K.P. Senga, A. Covaci and K.R. Cimanga. 2013. Physico-chemical study of Adenanthera pavonina seed oil
growing in Democratic Republic of Congo. International Journal of PharmTech Research CODEN (USA). 5 (4):
1870-1881.
Rai, Y. 2014. Growth and development of an endangered medicinal tree Adenanthera pavonina Linn. In District Meerat
ZU.P.), India. International Journal of Engineering Science Invention. 3(5): 34-37.
Silveira, F.A.O. and G.W. Fernandes. 2006, Effect of Light, Temperature and Scarification on the Germination of Mimosa
foliolosa (Leguminasae) Seed, Seed Science and Technology, 34(3): 585-592.
Veasey, E.A. and J.C. Teixeira de Freitas. 2002. Breaking Seed Dormancy in Sesbania sesban, S. rostrata and S. virgata,
Seed Science and Technology, 30(1): 211-217.
Walkley, A. 1947. A Critical Examination of a Rapid Method for Determining Organic Carbon in Soil: Effect of Variation in
Digestion Conditions and of Organic Soil Constituents. Soil Science. 63: 251-263.