ลักษณะซาก คุณภาพเนื้อ และความพึงพอใจของผู้บริโภค ที่มีต่อเนื้อโคนมเพศผู้และโคกำแพงแสนเพศผู้ขุน

Main Article Content

คงปฐม กาญจนเสริม
ภูมพงศ์ บุญแสน
อัญชลี คงประดิษฐ์
ชนณภัส หัตถกรรม
สุริยะ สะวานนท์

บทคัดย่อ

การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบลักษณะซาก คุณภาพเนื้อ และความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อ
เนื้อโคนมลูกผสมพันธุ์โฮสไตน์ฟรีเชี่ยนกับเนื้อโคกำแพงแสนเพศผู้ตอน จำนวนสายพันธุ์ละ 15 ตัว (รวม 30 ตัว) ที่ทำการ
เลี้ยงขุนด้วยอาหารผสมครบส่วนที่มีอาหารข้น (14 เปอร์เซ็นต์โปรตีน) และมีต้นข้าวโพดหรือหญ้าเนเปียร์หมักเป็น
แหล่งของอาหารหยาบในสัดส่วน 80 ต่อ 20 เปอร์เซ็นต์วัตถุแห้ง จนกระทั่งโคอ้วนสมบูรณ์เต็มที่และมีน้ำหนักตัว
มากกว่า 600 กิโลกรมั โดยใชก้ ารทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีย่ ระหว่างโคสองสายพันธ์ดุ ้วยวิธี T-test การศกึ ษา
ลักษณะซากพบว่าเปอร์เซ็นต์ซากอุ่น เปอร์เซ็นต์ซากเย็น และพื้นที่หน้าตัดเนื้อสันนอกของโคกำแพงแสนมีค่าเฉลี่ย
มากกว่าโคนมเพศผู้ขุน แต่โคกำแพงแสนมีเปอร์เซ็นต์หัวใจ ไต ปอด และกระเพาะทั้งสี่ส่วนน้อยกว่าโคนมเพศผู้
(P<0.05) ในขณะที่โคนมเพศผู้ขุนมีปริมาณไขมันแทรกในกล้ามเนื้อสันนอกมากกว่า (P<0.05) และมีค่าการสูญเสีย
น้ำหนักในระหว่างการปรุง และมีค่าแรงตัดผ่านเนื้อน้อยกว่าโคกำแพงแสน (P<0.01) เมื่อทำการทดสอบความพึงพอใจ
ของผู้บริโภคพบว่าในเนื้อสดผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความพึงพอใจกับเนื้อโคนมเพศผู้ขุน (62.12 %) มากกว่าเนื้อโค
กำแพงแสน (37.88 %) ส่วนเนื้อย่างผู้บริโภคมีความพึงพอใจกับเนื้อโคนมเพศผู้ขุน (59.51 %) มากกว่าเนื้อโค
กำแพงแสน (40.49 %)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กลุ่มสารสนเทศและข้อมูลสถิติ. 2560. สรุปข้อมูลและสถิติจำนวนโคนมและเกษตรกรผู้เลี้ยง. ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์, กรุงเทพฯ.
จุฑารัตน์ เศรษฐกุล และญาณิน โอภาสพัฒนากิจ. 2548. ผลผลิตและผลิตภัณฑ์จากสัตว์. แหล่งที่มา: http://www.nsru.ac.th/
e-learning/animal/lesson10 1.php, 10 กุมภาพันธุ์ 2560.
ชนณภัส หัตถกรรม คงปฐม กาญจนเสริม ภูมพงศ์ บุญแสน และสุริยะ สะวานนท์. 2560. ผลของระดับอาหารข้นต่อสมรรถภาพการเจริญ
เติบโตและต้นทุนการผลิตโคนมเพศผู้ตอนในระยะรุ่น. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (ฉบับพิเศษ) 48(2) : 572-579
ทวีพร เรืองพริ้ม จรัญ จันทลักขณา ผกาพรรณ สกุลมั่น และเมธา วรรณพัฒน์. 2546. การเปรียบเทียบการขุนโคนมโคเนื้อและกระบือ
ปลัก. หน้า 363-371. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 41.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
นันทนา ช่วยชูวงศ์ ชัยณรงค์ คันธพนิต และปรารถนา พฤกษะศรี. 2540. การเปรียบเทียบสมรรถภาพการขุน ปริมาณและคุณภาพผลผลิต
และผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ ของโคเนือ้ 5 สายพนั ธท์ุ ีม่ อี ยใู่ นประเทศไทย, น. 288-297. ใน: การประชมทางวิชาการของมหาวิทยาลยั
เกษตรศาสตร์ครั้งที่ 35 (สาขาสัตวแพทยศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ .
มรกต เหล็กดี ปติญญา จ้อยร่อย ศิรวัจน์ ปิณฑะดิษ และ สุริยะ สะวานนท์. 2560. ผลของระดับโปรตีนและปริมาณของอาหารข้นที่ได้รับต่อ
สมรรถภาพการเจริญเติบโตของโคนมเพศผู้ตอนในระยะโครุ่น. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (ฉบับพิเศษ) 48(2) : 116-123
มัทนา โอสถหงษ์. 2551. คู่มือการตัดแต่งเนื้อโคแบบโพนยางคำ. อมรินทร์, กรุงเทพฯ.
วิเชียร เกตุสิงห์. 2538. ค่าเฉลี่ยกับการแปลความหมาย: เรื่องง่ายๆ ที่บางครั้งก็พลาดได้. วารสารข่าวสารวิจัยการศึกษา 18(3): 11-18.
สัญชัย จตุรสิทธา. 2547. การจัดการเนื้อสัตว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
สุริยะ สะวานนท์. 2555. โคนมเพศผู้: ความเป็นไปได้ในการนำมาผลิตเนื้อโคคุณภาพ. วารสารปศุสัตว์เกษตรศาสตร์ 39 (153): 32-40.
สุริยะ สะวานนท์.2556. การผลิตโคเนื้ออินทรีย์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช). 2547. มาตรฐานสินค้าอาหารและเกษตรแห่งชาติ : เนือ้ โค. มกอช.
6001-2547.
ศรเทพ สังข์ทอง. 2549. โคเนื้อพันธ์ุกำแพงแสน. ชมรมผู้เลี้ยงโคกำแพงแสน, กรุงเทพฯ.
อิ่มเอิบ พันสด. 2549. การฆ่าและการตัดแต่ง. เทคโนโลยีเนื้อและผลิตภัณฑ์. แหล่งที่มา: http://elearning.nsru.ac.th/web_elearning/
meattech/lesson/less6_8.html, 5 กุมภาพันธุ์ 2560.
อัญชลี คงประดิษฐ์ วาณี ชัยวัฒนสิน ภูมพงศ์ บุญแสน และสุริยะ สะวานนท์. 2560. ผลของระดับโปรตีน และปริมาณอาหารข้น
ต่อสมรรถภาพการผลิตของโคนมเพศผู้ตอนในระยะโครุ่นที่ได้รับฟางข้าวเป็นแหล่งของอาหารหยาบ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร
(ฉบับพิเศษ) 48(2) : 124-132
A.O.A.C. 1990. Official Method of analysis of AOAC International.16th ed., The Association of Official Analytical Chemists,
Arlington, Virginia, U.S.A.
Barton-Gade, P.A., D. Demeyer, K.O. Honikel, R.L. Joseph, E. Poulame, M. Severini, F.J. Smulder and E. Tonberg. 1993.
Reference method for water holding capacity in meat and meat products. Procedure recommended by an OECD
working group. 39th International Congress of Meat Scienceand Technology. August 1-6 (1993) Calgary Alberta,
Canada
Boonsaen, P., N. Winn Soe, W. Maitreejet, S. Majarune, T. Reungprim and S. Sawanon. 2017. Effects of protein levels and
energy sources in total mixed ration on feedlot performance and carcass quality of KamphaengSaen steers. Agr. Nat.
Resour. 51(1): 57-61.
Cacere R.A.S., M.G. Morais, F.V. Alves, G.L.D. Feijó, C.C.B.F. İtavo, L.C.V. İtavo, L.B. Oliveira, C.B. Ribeiro. 2014.
Quantitative and qualitative carcass characteristics of feedlot ewes subjected to increasing levels of concentrate
in the diet. Arquivo Brasileiro de Medicina Veterinária e Zootecnia 66 1601-1610.
Chambaz A., M. R. L.Scheeder, M. Kreuzer and P. A. Dufey. 2003. Meat quality of Angus,Simnental,Charolais and
Limousin steers compared at the sameintramuscular fat content. Meat Sci. 63: 491-500.
Dannenberger, D., K. Nuernberg, G. Nuernberg and K. Ender. 2006. Carcass- and meat quality of pasture vs concentrate
fed German Simmental and German Holstein bulls. Arch. Tierz., Dummerstorf 49 (4) : 315-328
Gregory, K.E., L.V. Cundiff, R.M. Koch, M.E. Dikeman, and M. Koohmaraie. 1994. Breed effect retained heterosis and
estimates of genetic and phenotypic parameters for carcass and meat traits of beef cattle. J. Anim. Sci 72: 1174-1183.
Moreno, T., M.G. Keane, F. Noci, and A.P. Moloney. 2008. Fatty acid composition of M. Longissimus dorsi from
Holstein–Friesian steers of New Zealand and European/American descent and from Belgian Blue · Holstein–Friesian
steers, slaughtered at two weights/ages. Meat Science 78: 157–169.
Page, J.K., D.M. Wulf and T.R. Schwotzer. 2001. A surivey of beef muscle color and pH. J. Anim. Sci 73: 678-687.
Pfuhl, R., O. Bellmann, C. Kühn, F.Teuscher, K. Ender, and J. Wegner. 2007. Beef versus dairy cattle: a comparison of feed
conversion, carcass composition, and meat quality. Arch. Tierz., Dummerstorf 50(1): 59-70.