รูปแบบการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรต้นแบบประเทศไทย

Main Article Content

พัฒน์รพี สืบขจร
พัฒนา สุขประเสริฐ
ศิรส ทองเชื้อ

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรต้นแบบ
ประเทศไทย โดยประชากรเป็นเกษตรกรและบุคคลทางการเกษตรที่ได้รับรางวัลเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติในระหว่าง
ปี 2556 - 2560 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 76 ราย ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
ร่วมกับการสืบค้นข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย
และ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรต้นแบบมีการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในภาพโดย
รวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.23) โดยรูปแบบการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 2 เรื่อง
รวม 5 ด้าน (3 หลักการ 2 เงื่อนไข) โดยที่การปฏิบัติเรื่องของเงื่อนไขส่วนบุคคลมีการปฏิบัติในระดับมากที่สุด
(ค่าเฉลี่ย 4.25) ได้แก่ ด้านความรู้(ค่าเฉลี่ย 4.29) และด้านคุณธรรม (ค่าเฉลี่ย 4.21) กับการปฏิบัติเรื่องหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียงในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.21) ได้แก่ ด้านการ มีเหตุผล (ค่าเฉลี่ย 4.33) ด้านการมีภูมิคุ้มกัน
(ค่าเฉลี่ย 4.24) และด้านความพอประมาณ (ค่าเฉลี่ย 4.07) ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่า เกษตรกรต้นแบบให้ความ
สำคัญกับเรื่องเงื่อนไขส่วนบุคคลมากกว่าเรื่องหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการศาสนา. 2554. ความรู้ศาสนาเบื้องต้น. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
จำกัด. กรุงเทพมหานคร
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2559. ฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร.
กรุงเทพมหานคร
กรวิทย ์ ตันศรี 2556. แรงงานกับการเปลี่ยนแปลงของภาคการเกษตรไทย. ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ .
ขอนแก่น.
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2560. ประวัติและผลงานเกษตรกร สถาบันเกษตร สหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติประจำปี 2560. กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
กฤษฎา หลักเมือง อภิญญา รัตนไชย และภานุพันธ์ ประภาติกุล 2559 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงในชีวิตประจำวันของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในจังหวัดสงขลา, วารสารเกษตร, ปีที่ 44 ฉบับพิเศษ 1 หน้า 99-104
ตะวัน ห่างสูงเนิน, พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์, อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ และรุจ ศิริสัญลักษณ์. 2557. ระบบเกษตรอินทรีย์ในบริบทของเศรษฐกิจ
พอเพียง: กรณีศึกษาเกษตรกรผ้ผู ลิตเกษตรอินทรีย์ใน เขตล่มุ น้ำแม่ริม จังหวัดเชียงใหม.่ วารสารเกษตร, ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 หน้า 61 – 69
ฐิติมา ปาลคะเชนทร์. 2556. ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับความร้คู วามเข้าใจในการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชน
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพนม อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการ Veridial E- journal. 6(1): 661 -680
พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา. 2542. พฤติกรรมกลุ่ม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา.
พรกมล อ่อนเกตุพล และ สุธัญญา ทองรักษ์. 2552. เกษตรกรไทยกับการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาระโนด
และอำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พรนิภา จันทร์น้อย. 2552. การดำเนินชีวิตกับเศรษฐกิจพอเพียง. FEU ACADEMIC REVIEW. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 5-9
พัชรพรรณ ยาโน. 2552. วิถีชีวิตกบั การพฒั นาอาชีพของเกษตรกรแบบผสมผสานในจงั หวดั ชุมพร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กรุงเทพมหานคร
พัฒนา สุขประเสริฐ. 2558. ก้าวย่างจากเกษตรทฤษฎีใหม่สู่เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพฒั นาที่ยงั่ ยืน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. 2558. AEC: กับแรงงานภาคการเกษตร. AEC News Alert. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ.
ประจำวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 หน้า 4-6
สถาพร หลาวทอง. 2542. การพัฒนาทรัพยากรมนษุย์ในองค์กรตำรวจ: ศึกษาเฉพาะกรณีกองบัญชาการศึกษาสำนักงานตำรวจแห่ง
ชาติ. วิทยาลัยการยุติธรรม สำนักศาลยุติธรรม
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2560. เจาะข้อมูลเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนเกษตร สศก. ระบุชัด เกษตรกรรายได้เพิ่ม สัดส่วนคนจนลด
ลง. ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ฉบับที่ 163/2560 วันที่ 22 ธันวาคม 2560
สำนักงานสถิตแห่งชาติ. 2558. บทสรุปผูบ้ ริหาร การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน 2558. ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร
สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง. 2549. แนวทางปฏิบัติ 7 ขั้น สู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง: จากแนวปฏิบัติสู่แนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง.
กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิวิถีสุข