เพรียงทรายกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Main Article Content

กฤษฎา สุขเจริญ

บทคัดย่อ

          เพรียงทรายเป็นสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลัง ในธรรมชาติเพรียงทรายเป็นอาหารสัตว์น้ำหลายชนิดเช่น กุ้งทะเล ปูทะเล ปลาทะเลหน้าดิน และปลาสวยงาม จากการศึกษาพบว่าเพรียงทรายมีคุณค่าทางอาหารที่จำเป็นต่อสัตว์น้ำ ซึ่งมีสารอาหารที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับพ่อแม่พันธุ์สัตว์น้ำ และในปัจจุบันธุรกิจการผลิตลูกกุ้งทะเลมีความต้องการใช้เพรียงทรายเพื่อใช้ในการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์เป็นจำนวนมาก ทำให้มีการจับเพรียงทรายจากธรรมชาติมาจำหน่ายซึ่งนอกจากจะเป็นการทำลายสายพันธุ์เพรียงทรายในธรรมชาติแล้ว ยังเป็นการประกอบกิจกรรมทางการเกษตรที่ไม่ยั่งยืน การเพาะเลี้ยงเพรียงทรายจึงเข้ามีบทบาทสำคัญต่อธุรกิจการผลิตลูกกุ้งทะเล ซึ่งถ้าหากสามารถเพาะเลี้ยงเพรียงทรายได้อย่างมีประสิทธิภาพก็จะเพิ่มศักยภาพในการผลิตพ่อแม่พันธุ์กุ้งทะเลที่มีคุณภาพและปลอดเชื้อได้ แต่อย่างไรก็ตามการเพาะเลี้ยงเพรียงทรายในปัจจุบันยังคงต้องการงานวิจัยเชิงบูรณาการอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านเทคนิคการเพาะเลี้ยงเพรียงทราย หรือการนำเพรียงทรายไปใช้ประโยชน์ ซึ่งถ้าหากทำได้ก็จะสามารถเพิ่มศักยภาพในการผลิตเพรียงทราย และคุ้มค่าต่อการลงทุนในระยะยาว ซึ่งสิ่งต่างๆเหล่านี้จะช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเพรียงทรายให้ยั่งยืนได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จิตติมา อายุตตะกะ. 2544. การศึกษาเบื้องต้นประชาคมสิ่งมีชีวิตพื้นทะเล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชุติมา ขมวิลัย. 2540. การแพร่กระจายและศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงคุณภาพดินโดยไส้เดือนทะเลบางชนิด. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ถนอม พิมลจินดา. 2542. ชีววิทยาหนอนปล้อง (Annelida) บางชนิดเพื่อนำมาใช้เลี้ยงกุ้งทะเล ใน รายงานสัมมนาวิชาการประมง ประจำปี 2542 กรมประมง. กรุงเทพฯ. หน้า 6
พอจำ อรัณยกานนท์ และสุรพล ชุณหบัณฑิต. 2550. บทสรุปเรื่องการวิจัยและเพาะเลี้ยงเพรียงทรายปลอดเชื้อระหว่างปี พ.ศ. 2547-2549. ใน การอบรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีเรื่องการทำฟาร์มเพาะเลี้ยงเพรียงทรายปลอดเชื้อเชิงพาณิชย์. น. 1-21. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
พิศิษฐ์ พลธนะ, ชัยณรงค์ โตจรัส, สมลักษณ์ อสุวพงศ์พัฒนา, กนกพร วงศ์ประเสริฐ์ และบุญเสริม วิทยชำนาญกุล. 2552. แม่เพรียงกับการเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ความเชื่อที่พิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. ใน การสัมมนาเรื่อง วช.กับการวิจัยและพัฒนาเพรียงทรายสู่การใช้ประโยชน์เชิงอุตสาหกรรม. น. 13-14. โรงแรมเมโทรโพล, ภูเก็ต.
วิทยา รัตนะ, นันทวัน ศานติสาธิตกุล, จิรานุวัฒน์ ชูเพชร และลัดดาวัลย์ สถาพร. 2548. ผลของเพรียงทรายที่มีต่อการสร้างรังไข่และผลผลิตลูกกุ้งของพ่อแม่กุ้งกุลาดำ. ใน การสัมมนาวิชาการด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งประจำปี 2548. น. 35. กรมประมง, กรุงเทพฯ.
วิลาสินี คงเล่ง, กอบศักดิ์ เกตุเหมือน และสุจินต์ บุญช่วย. 2546. การทดลองเลี้ยงเพรียงทราย (Perinereis sp.) ในกระบะพลาสติก. ใน รายงานการสัมมนาวิชาการประมง ประจำปี 2546, น. 79. กรมประมง, กรุงเทพฯ.
สถาบันทรัพยากรทางน้ำ. 2550. การทำฟาร์มเลี้ยงเพรียงทรายปลอดเชื้อเชิงพาณิชย์. ใน เอกสารประกอบการอบรมการถ่ายทอดเทคโนโลยี. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
สันติสุข ไทยปาล. 2544. สัณฐานวิทยา ชีววิทยาการสืบพันธุ์บางประการและองค์ประกอบของอาหารในกระเพาะอาหารของปลาบู่ทอง (Glossogobius aureus Akihito and Meguro, 1975) ในทะเลสาบสงขลา. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สุรพล ชุณหบัณฑิต. 2544. การเพาะเลี้ยงไส้เดือนทะเลเพื่อเป็นอาหารสำหรับพ่อแม่กุ้งทะเล. คู่มือธุรกิจเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและอุตสาหกรรมอาหารทะเลส่งออก. กรุงเทพฯ : เมจิก ซีเลคไลท์ จำกัด.
สุรพล ชุณหบัณฑิต. มปป. การเพาะเลี้ยงไส้เดือนทะเล Perinereis nuntia var brevicirris (Grub) เพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นอาหารในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพล ชุณหบัณฑิต, พอจำ อรัณยกานนท์. 2549. การใช้ทรายเทียมเป็นวัสดุเลี้ยงเพรียงทราย Perinereis nuntia, Savigny แทนทรายธรรมชาติ. ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 . น. 229-236. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อัตรา ไชยมงคล, มะลิ บุณยรัตผลิน และสุพิศ ทองรอด. 2542. การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับความสมบูรณ์พันธุ์ของแม่กุ้งกุลาดำที่เลี้ยงด้วยหมึกและหมึกร่วมกับแม่เพรียง ใน รายงานการสัมมนาวิชาการประมง ประจำปี 2542. น. 72. กรมประมง, กรุงเทพฯ.
อิสราภรณ์ จิตรหลัง, ปณต กลิ่นเชิดชู, นงลักษณ์ สำราญราษฎร์ และสุพิศ ทองรอด. 2550. ไขมันและวิตามินอีในเพรียงทราย (Perinereis nuntia, Savigny). ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45. น. 786. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
Alexander, R.M. 1979. The Invertebrates. Leeds. Cambridge University Press.
Barnes, R.D. 1968. Invertebrate Zoology. Tokyo. Japan Printing Company Limited.
Barth, R.H. 1982. The Invertebrate World. Tokyo. CBS College Publishing.
Black, K.D. 2001. Environmental Impacts of Aquaculture. Sheffield. Sheffield Academic Press Ltd.
Buchsbaum, R. 1938. Without Backbones. Chicago. The University of Chicago Press.
Castro, P. and Huber, M.E. 1992. Marine Biology. Dubuque. Wm. C. Brown Publishers.
Chareonpanich, C. 1999. The Control and Modification of Organically Polluted Sediment by Marine Worm. Department of Fishery Biology, Faculty of Fisheries. Bangkok. Kasetsart University.
Fauchald, K. 1977. The Polychaete Worms. Los Angeles. Chapman.
Giangrande, A. 1997. Polychaete reproductive patterns, life cycles and life histories: An overview. Oceanography and Marine Biology 35: 323-385.
Hardege, J.D. and Bartels-Hardege, H.D. 1995. Spawning behaviour and development of Perinereis nuntia var brevicirris (Annelida :Polychaete). Invertebrate Biology 114: 39-45.
Harrison, F.W. and Gardiner, S.L. 1992. Microscopic Anatomy of Invertebrates (Volume 7 Annelida). New York : Wiley-Liss.
Hegner, R.W. and Engermann, J.G. 1968. Invertebrate Zoology. New York : Macmillan Publishing Co.,Inc.
Leelatawit, R., U. Uawisetwathana, J. Khudet, A. Klanchui, S. Phomklad, S. Wongtripop, P. Angthoung, P. jiravanichpaisal and N. Karoonuthaisiri. 2014. Effects of polychaetes (Perineries nuntia) on sperm performance of the domesticated black tiger shrimp (Penaeus monodon). Aquaculture 433:266-275.
Meksumpun, C. and Meksumpun, S. 1999. Polychaete-sediment relation in Rayong, Thailand. Environmental Pollution 105: 447-456.
Meunpol, O., Duangjai, E. and Yoonpun, R. 2005. Determination of prostaglandin E2 (PGE2) in polychaetes (Perinereis sp.) and its effect on Penaeus monodon oocyte development in Vitro. European Aquaculture Society, Special Publication No. 36
Olive, P. 1994. Polychaeta as a world resource : A review of patterns of exploitation as sea angling baits and the potential for aquaculture based production. Memoris du Museum National d’Histoire Naturelle 162 : 603-610.
Olive, P., Fletcher, J., Rees, S. and Desrosiers, G. 1997. Interaction of environmental temperature with photoperiod in determining age at maturity in semelparous polychaete Nereis (Neanthes) virens Sars. Thermal Biology 22: 489-497.
Pennak, R.W. 1989. Fresh-water Invertebrates of the United States, Third edition. New York : Jonh Wiley  Sons, Inc.
Pinedo, S., Sarda, R. and Martin, D. 1997. Comparative study of the trophic structure of soft-bottom assemblages in the Bay of Blanes (Western Mediterranean Sea). Bull. Mar. Sci. 60: 529-542.
Poltana, P., Lerkitkul, T., Anantasomboon, G., Wannapapho, W., Wongprasert, K., Olive, P. and Withyachumnarnkul, B. 2005. Prostaglandin in the polychaete Perinereis nuntia and their receptors in the ovary of the black tiger shrimp Penaeus monodon. World Aquaculture Society. Available from www.was.org/meeting abstract data. Accessed on 10 June 2008.
Polychaete features. 2019. Polychaetes. Waikato Regional Council. https://www.waikatoregion.govt.nz/environment/natural-resources/coast/coastal-monitoring/regional-estuary-monitoring-programme/organisms/polychaetes/features/ (5 September 2019)
Prevedelli, D. and Simonini, R. 2003. Life cycles in brackish habitats : Adaptive strategies of some polychaetes from the Venich lagoon. Oceanologica Acta. 26: 77-84.
Ruppert, E.E. and Barnes, R.D. 1994. Invertebrate Zoology, Sixth edition. Florida : Harcourt, Inc.
Russell-Hunter, W.D. 1969. A Biology of Higher Invertebrates. London: The Macmillan Company.
Sato, M. 1999. Divergence of reproductive and developmental characteristics in Hediste (Polychaeta: Nereidae). Hydrobiologia 402: 129-143.
Simon, W. R. and Olive, P. J.W. 2000. Manipulating the timing of maturation and competence for fertilization and development of oocytes from the semelparous polychaete Nereis (Neanthes) virens Sars. Invertebrate Reproduction and Development 38: 81-84.
Sittikankaew, K., R. Leelatanawit, S. Phuengwas, J. Kudej, S. Phomklad, K. Sukjarern, S. Wongtripop and N. Karoonnuthaisiri. 2016. Effect of feed combination on sperm quality of domesticated male black tiger shrimp (Penaeus monodon). In: The 28th Annual Meeting of the Thai Society for Biotecnology and International Conference. 28-30 November 2016. Chiang Mai, Thailand.
Wilmoth, J. H. 1967. Biology of Invertebrates. New Jersey: Prentice Hall Inc.