สัณฐานวิทยาและสัณฐานวิทยาเรณูของทุเรียนพันธุ์หลงลับแล

Main Article Content

พิชัย ใจกล้า

บทคัดย่อ

การศึกษาทางสัณฐานวิทยาของทุเรียนพันธุ์หลงลับแล ตำบลนานกกก อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่ามีลักษณะเป็นไม้ยืนต้น ลำต้นตรง เปลือกมีสีเทาเข้ม ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงแบบสลับระนาบเดียว  รูปใบเป็นแบบรูปขอบขนาน ปลายใบแหลม ฐานใบรูปลิ่ม มีสูตรดอกคือ ± K(5)  C5 A(25-40) G(5)  การศึกษาสัณฐานวิทยาของเรณูภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด พบว่า เรณูเป็นแบบเรณูเดี่ยว มีรูปร่างกลม ผิวเรียบ มีช่องเปิด 3 ช่อง ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้เป็นข้อมูลที่มีประโยชน์สำหรับการจัดจำแนกพืชต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ก่องกานดา ชยามฤต. 2545. คู่มือจำแนกพรรณไม้. สำนักวิชาการป่าไม้ หอพรรณไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ 232 หน้า.
เกศิณี ระมิงค์วงศ์. 2546. การจัดจำแนกไม้ผล. เอกสารคำสอนกระบวนการจัดจำแนกไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, เชียงใหม่. 417 หน้า.
จิตติพร ทรรศนียากร. 2543. ความหลากหลายของพืชล้มลุกวงศ์ Papilionaceae ในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 361 หน้า.
ชุมพล คุณวาสี โกสุม พีระมาณ และกัญดา เกษตรสินสมบัติ. 2552. แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสัณฐานเรณูของพืชวงศ์ Euphorbiaceae. หน้า 2. ใน: การประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิดล กรุงเทพฯ.
ทรงพล สมศรี. 2551. ทุเรียนไทยกับการปรับปรุงพันธุ์ : กรณีศึกษาพันธุ์จันทบุรี 1 จันทบุรี 2 จันทบุรี 3. สำนักผู้เชี่ยวชาญ กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 206 หน้า.
นฤมล มานิพพาน. 2537. การปลูกและการขยายพันธุ์ทุเรียน ราชาแห่งผลไม้. บริษัท สำนักพิมพ์ เพชรกะรัต จำกัด, กรุงเทพฯ. 96 หน้า.
บรรณ บูรณะชนบท. 2542. สวนทุเรียน. ศูนย์ผลิตตำราเกษตรเพื่อชนบท, กรุงเทพฯ. 63 หน้า.
ประภัสสร อารยะกิจเจริญชัย และ ฉันทนา สุวรรณธาดา. 2553. สัณฐานวิทยาเรณูของพืชสกุลว่านสี่ทิศ (Hipeastrum) 6 พันธุ์ปลูก. วารสารพฤกษศาสตร์ไทย 2(2): 101-110.
พิชัย ใจกล้า และ สุทธิรัตน์ ปาลาศ. 2549. สัณฐานวิทยาและจำนวนโครโมโซมลางสาดพื้นเมืองลับแล. วารสารเกษตร 22(1): 61-65.
มนัส ดาเกลี้ยง. 2545. พันธุ์ทุเรียนเมืองลับแล. คณะเกษตรศาสตร์และสิ่งแวดล้อม สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์, อุตรดิตถ์. 17 หน้า.
ลลิตา โรจนกร. 2548. ศิลปะการวาดภาพพฤกษศาสตร์. แสงมงคลออฟเซ้ทการพิมพ์ จำกัด, กรุงเทพฯ. 52 หน้า.
สมพร ภูติยานันต์. 2546. การตรวจเอกลักษณ์พืชสมุนไพร: พฤกษอนุกรมวิธาน. ภาควิชาเภสัชเวท คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 518 หน้า.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2555. การผลิตสินค้าการเกษตรที่สำคัญทุเรียน. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา. www.oae.go.th. (16 ธันวาคม 2555).
Agashe, S. N. and E. Caulton. 2009. Pollen and Spores: Applications with Special Emphasis on Aerobiology and Allergy. Science Publishers, New Hampshire. 400 p.
Chaikla, P. 2012. Characteristics and Varietal Phylogenetics of Peliosanthes teta Andr., Basella alba L. and Gymnema inodorum Decne. Collected from Some Areas in the Upper-North of Thailand. Thesis for Doctor of Philosophy (Agriculture) Horticulture, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai. 320 p.
Erdtman, G. 1972. Pollen Morphology and Plant Taxonomy, Angiosperms : An Introduction to Polynology, Volume I. Hafner Publishing Company, New York. 553 p.
Huang, T. C. 1972. Pollen Flora of Taiwan. National Taiwan University Botany Department Press, Taiwan. 297 p.
Moore, P. D., J. A. Webb and M. E. Collinson. 1991. Pollen Analysis. 2nd ed. Blackwell Scientific Publications, Oxford. 216 p.
Ramingwong, K. 2001. Systematic of Economic Fruit Plants. Department of Horticulture, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai. 222 p.
Simpson, M. G. 2006. Plant Systematics. Elsevier Academic Press, New York. 590 p.