ผลของโคลชิซินต่อการเติบโต ของโปรโตคอร์มเอื้องดินใบหมาก
Main Article Content
บทคัดย่อ
โปรโตคอร์มของเอื้องดินใบหมาก เมื่อได้รับสารละลายโคลชิซินความเข้มข้น 0, 0.005, 0.01, 0.025 และ 0.05 เปอร์เซ็นต์ พบว่า สารละลายโคลชิซินความเข้มข้น 0.05 เปอร์เซ็นต์ ทำให้โปรโตคอร์มมีอัตราการมีชีวิตรอดต่ำที่สุด 51.67 เปอร์เซ็นต์ และมีผลทำให้ความสูงต้น ความยาวใบ ความยาวราก และจำนวนรากลดลง แต่ความกว้างใบเพิ่มขึ้น
Article Details
References
นพพร คล้ายพงษ์พันธุ์. 2546. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 หน้า.
มลวิภา โสมานันท์. 2521. การชักนำให้เกิดโพลีพลอยด์ในกล้วยไม้อะแรนดาโดยการใช้โคลชิซิน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 66 หน้า.
ระพี สาคริก. 2550. กล้วยไม้. สำนักพิมพ์ช่องนนทรี, กรุงเทพฯ. 104 หน้า.
วิชชุตา รุ่งเรือง. 2537. ผลของโคลชิซินและรังสีแกมมาที่มีต่อการกลายพันธุ์ของหน้าวัว. วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 76 หน้า.
เศรษฐพงศ์ เลขะวัฒนะ ทวีพงศ์ สุวรรณโร ไพสิฐ เกตุสถิตย์ กนกวรรณ ถนอมจิตร พัชรียา บุญกอแก้ว และ ศุภฤกษ์ สุขสมาน. 2548. ศูนย์นำร่องวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการผลผลิตกล้วยไม้กระถางเพื่อการส่งออก. กรมส่งเสริมการเกษตร, กรุงเทพฯ. 118 หน้า.
สุกัญญา แพทย์ปฐม. 2546. ความเคลื่อนไหวไม้ดอกไม้ประดับในรอบปีและแนวโน้มในอนาคต. เคหการเกษตร. 27(1): 118-124 หน้า.
สุขไผท ศรีเมือง. 2551. ผลของโคลชิซินที่มีต่อกล้วยไม้ดินหมูกลิ้งในสภาพปลอดเชื้อ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 58 หน้า.
สุพัตรา สระธรรม. 2551. ผลของระดับความเข้มข้นและระยะเวลาที่ได้รับสารโคลชิซินของโปรโตคอร์มกล้วยไม้เอื้องแซะหอมต่อการเกิดต้นโพลีพลอยด์ในสภาพปลอดเชื้อ. หน้า 153-160. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46. กรุงเทพฯ.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2552. ปริมาณมูลค่าส่งออกสินค้าเกษตรกรรม. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www.oae.go.th/oae_ report/export_import/export_result.php (12 พฤษภาคม 2552).
อดิศร กระแสชัย. 2539. บทปฏิบัติการ Cytogenetics in Agriculture. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 125 หน้า.
อบฉันท์ ไทยทอง. 2549. กล้วยไม้เมืองไทย. สำนักพิมพ์บ้านและสวน, กรุงเทพฯ. 461 หน้า.
Derman, H. 1938. A cytological analysis of polyploidy by colchicines and by extremes of temperature. Heredity 29: 211-229.
Hawkes, A. D. 1965. Encyclopedia of Cultivated Orchids. Jarrold and Sons Limited, Norwish. 602 pp.
Kim, M. S. and J. Y. Kim. 2003. Micropropagation of Dendrobium hybrids through shoot tip culture. Acta Horticulturae 624: 527-533.
Mikio, N., K. Juntaro, H. Haruhike, M. Masahiro, S. Kouzou and K. Toshihiro. 2006. Induction of fertile amphidiploids by artifical chromosome -doubling in interspecific hybrid between Dianthus cargophyllus L. and D. japonicus Thunb. Breeding Science 56(3): 303-310.
Phornsawatchai, T. and P. Apavatjrut. 2008. Improved techniques for Paphiopedilum concolor (Lindl.) Pfitzer propagation by seeds. pp. 65-105. In: Proceedings of The Fourth Asia Pacific Orchid Conference, Chiang Mai.
Silva, P. A. K. X. M., S. Callegari-Jacques and M. H. Bodanese-Zanettini. 2000. Induction and identification of polyploids in Cattleya intermedia Lindl. (Orchidaceae) by in vitro techniques. Ciência Rural 30: 105-111.
Takamura, T. and I. Miyajima. 1996. Colchicine induced tetraploids in yellow-flowered cyclamens and their characteristics. Scientia Horticulturae 65: 305-312.
Van Tuyl, J. M., B. Meijer and M. P. Van Dien. 1992. The use of oryzalin as an alternative for colchicine in in vitro chromosome doubling of Lilium and Nerine. Acta Horticulturae 325: 625-630.