คุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมพันธุ์กรีนโอ๊คลีฟพร้อมปรุงที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์

Main Article Content

วารินทร์ ใจวิเสน
ดนัย บุณยเกียรติ

บทคัดย่อ

การศึกษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผักกาดหอมพร้อมปรุงซึ่งเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 วัน ผลการทดลองพบว่า ผักกาดหอมพร้อมปรุงที่ปลูกในระบบปกติมีการสูญเสียน้ำหนัก ค่า L* ค่า chroma คุณภาพทางประสาทสัมผัส ปริมาณวิตามินซี ปริมาณคลอโรฟิลล์บี และปริมาณไนเตรทไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับผักกาดหอมพร้อมปรุงที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ แต่ผักกาดหอมพร้อมปรุงที่ปลูกในระบบปกติมีปริมาณ      จุลินทรีย์ทั้งหมดมากกว่าผักกาดหอมพร้อมปรุงที่ปลูกในระบบ  ไฮโดรโพนิกส์ ส่วนผักกาดหอมพร้อมปรุงที่จุ่มสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 100 ส่วนต่อล้านส่วน มีความกรอบมากกว่า ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดน้อยกว่า มีการสูญเสียน้ำหนักมากกว่า ปริมาณวิตามินซีและปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้น้อยกว่า อีกทั้งยังมีอายุการเก็บรักษาสั้นกว่าผักกาดหอมพร้อมปรุงที่ไม่จุ่มสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษณา ภูตะคาม และวิริยา คณารักษ์. 2546. น้ำมันหอม-ระเหย. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, เชียงใหม่. 150 หน้า.

จริงแท้ ศิริพานิช. 2544. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 396 หน้า.

ณัฐวุฒิ มาสกรานต์ วราภา มหากาญจนกุล และธนะบูลย์ สัจจาอนันตกุล. 2545. การลดปริมาณ Listeria monocytogenes ปนเปื้อนบนผักด้วยสารละลายคลอรีนไดออกไซด์. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 33(6)(พิเศษ): 214-218.

ดนัย บุณยเกียรติ. 2540. สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวของพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 226 หน้า.

ดนัย บุณยเกียรติ และนิธิยา รัตนาปนนท์. 2548. การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 236 หน้า.

ดารารัตน์ ศรีวิชัย เรืองฤทธิ์ ริณพัฒน์ สภาวะ ทองม่วง สามารถ ใจเตี้ย และอริสรา ทาแกง. 2544. เกษตรอินทรีย์ทางเลือกใหม่ของเกษตรกรชาวเชียงใหม่.หน้า 40. ใน: รายงานการสัมมนาวิชาการสาขาการจัดการทรัพยากรเกษตรและสิ่งแวดล้อม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.

ดิเรก ทองอร่าม. 2547. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน: หลักการจัดการการผลิตและเทคโนโลยีการผลิตเชิงธุรกิจในประเทศไทย.ธรรมรักษ์การพิมพ์, ราชบุรี. 724 หน้า.

ถวัลย์ พัฒนเสถียรพงศ์. 2534. ปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (Soilless culture). พรานนกการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 127 หน้า.

นพดล เรียบเลิศหิรัญ. 2538. การปลูกพืชไร้ดิน. สหมิตร พริ้นติ้ง, กรุงเทพฯ. 100 หน้า.

นิพนธ์ ไชยมงคล. 2543. เอกสารประกอบการสอน วิชาการผลิตผัก. สาขาพืชผัก ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 131 หน้า.

นิพนธ์ ไชยมงคล. 2547. เทคโนโลยีการผลิตผัก (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www.mju. ac.th/fac-agr/hort/vegetable/ (26 ธันวาคม 2547).

ยงยุทธ โอสถสภา. 2546. ธาตุอาหารพืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 424 หน้า.

สายชล เกตุษา. 2528. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ, กรุงเทพฯ. 364 หน้า.

Behrsing, J., S. Winkler, P. Franz and R. Premier. 2000. Efficacy of chlorine for inactivation of Escherichia coli on vegetables. Postharvest Biology and Technology 19: 187-192.

Beuchat, L.R. 1996. Pathogenic microorganisms associated with fresh produce. Journal of Food Protection 59: 204-216.

Bolin, H.R., A.E. Stafford, A.D. King, Jr. and C.C. Huxsoll. 1977. Factors affecting the storage stability of shredded lettuce. Journal of Food Science 42 (5): 1319-1321.

Brecht, J.K. 1995. Physiology of lightly processed fruits and vegetables. HortScience 30(1): 18-22.

Broadley, M.R., A.J. Escobar-Gutierrez, A. Burns and I.G. Burns. 2000. What are the effects of nitrogen deficiency on growth components of lettuce. New Phytologist 147: 519-526.

Chiesa, A., D. Frezza, S. Moccia, A. Obeti, A. Fraschina and L. Diaz. 2005. Vegetable production technology and postharvest quality. Acta Horticulturae 682: 565-572.

Fain, A.R. 1996. A review of the microbiological safety of fresh salads. Dairy, Food and Environmental Sanitation 16: 146-149.

Ferrante, A., L. Incrocci, R. Maggini, F. Tognoni and G. Serra. 2003. Preharvest and postharvest strategies for reducing nitrate content in rocket (Eruca sativa). Acta Horticulturae 628: 153-159.

Kader, A.A., W.J. Lipton and L.L. Morris. 1973. Systems for scoring quality of harvested lettuce. HortScience 8(5): 408-409.

Ke, D. and M.E. Saltveit, Jr. 1989. Regulation of russet spotting, phenolic metabolism and IAA oxidase by low oxygen in Iceberg lettuce. Journal of the American Society for Horticultural Science 114(4): 638-642.

Kiss, I. 1984. Testing Methods in Food Microbiology. Elsevier Science, Amsterdam. 447 pp.

Little, C.L., H.A. Monsey, G.L. Nichols and J. de Louvois. 1997. The microbiological quality of refrigerated salads and crudités. PHLS Microbiology Digest 14: 142-146.

Loaiza-Velarde, J.G., F.A. Tomas-Barbera and M.E. Saltveit. 1997. Effect of intensity and duration of heat-shock treatments on wound-induced phenolic metabolism in iceberg lettuce. Journal of the American Society for Horticultural Science 122(6): 873-877.

Maynard, D.N. and A.V. Barker. 1972. Nitrate content of vegetable crops. HortScience 7(3): 224-226.

Mozafar, A. 1993. Nitrogen fertilizers and the amount of vitamins in plants: A review. Journal of Plant Nutrition 16: 2479-2506.

Nicola, S., E. Fontana, J. Hoeberechts and D. Saglietti. 2005. Raphanus sativus production in soilless or traditional culture systems and postharvest packaging. Acta Horticulturae 682: 1303-1309.

Priepke, P.E., L.S. Wei and A.I. Nelson. 1976. Refrigerated storage of prepackaged salad vegetables. Journal of Food Science 41: 379-382.

Resh, H.M. 1991. Hydroponics Food Production. Woodbridge Press Publishing Company, Santa Barbara. 432 pp.

Schlimme, D.V. 1995. Marketing lightly processed fruits and vegetables. HortScience 30(1): 15-17.

Siomos, A.S., G. Beis, P.P. Papadopoulou, P. Nasi, I. Kaberidou and N. Barbayiannis. 2001. Quality and composition of lettuce (cv. ‘Plenty’) grown in soil and soilless culture. Acta Horticulturae 548: 445-449.

Souza, E.C., R.H. Piccoli, C.A. Boari, A.B. Chitarra and M.I.F. Chitarra. 2005. Fresh-cut lettuce: Use of different sanitation treatments to reduce microbial load. Acta Horticulturae 682: 1847-1850.

Whitham, F.H., D.F. Blaydes and R.M. Devin. 1971. Experiments in Plant Physiology. Van Nostrand Reinhold, New York. 245 pp.

Willmer, C.M. 1983. Stomata. Longman Inc., New York. 166 pp.