การศึกษาลักษณะทางสัณฐานของมะม่วงเขียวมรกตสายต้นคัด

Main Article Content

ทาริกา สุทธสม
วีณัน บัณฑิตย์
ธวัชชัย รัตน์ชเลศ

บทคัดย่อ

การศึกษาทางสัณฐานวิทยาที่เป็นลักษณะทางปริมาณและคุณภาพของมะม่วงเขียวมรกต พบลักษณะที่มีความแปรปรวนในสายต้นคัด ลักษณะทางสัณฐานที่เหมาะสมสำหรับการจำแนกมะม่วงเขียวมรกตสายต้นคัดได้แก่ สีเปลือกผลดิบแก่จัด พิจารณาร่วมกับกลุ่มน้ำหนักผลและสัดส่วนความกว้างต่อความหนาผล การศึกษาในปี พ.ศ. 2548-2549 เพื่อจำแนกมะม่วงเขียวมรกต 20 สายต้น โดยใช้ลักษณะสัณฐาน 3 ลักษณะร่วมกัน ให้ผลแตกต่างกัน คือ สามารถแยกเป็น 5 สายต้น 6 กลุ่ม ในปี พ.ศ. 2548 และ 1 สายต้น 5 กลุ่ม ในปี พ.ศ. 2549

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการเกษตร. 2547. เขียวมรกต. หน้า 44. ใน: ฐานข้อมูลเชื้อพันธุ์พืช: มะม่วง. เล่ม 2. เอกสารวิชาการลำดับที่ 10/2545. ฝ่ายคุ้มครองพันธุ์พืช กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.

กรมวิชาการเกษตร. 2550. ฐานความรู้ด้านพืช: มะม่วง. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://ayutthaya.doae.go.th/uthai/knowledge/mangonokruadoo.htm (15 สิงหาคม 2550).

กลุ่มผู้ปลูกมะม่วงเขียวมรกต อ. บ้านโฮ่ง. 2547. ประวัติที่มาของมะม่วงเขียวมรกต. เอกสารประกอบการอบรมเรื่อง การผลิตมะม่วงเขียวมรกตแบบ GAP 16 กุมภาพันธ์ 2549. ลำพูน. 3 หน้า.

ทาริกา สุทธสม. 2550. สัณฐานวิทยาและความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของมะม่วงเขียวมรกตสายต้นคัด.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 179 หน้า.

ธวัชชัย รัตน์ชเลศ พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ และ รุ่งทิพย์ อุทุมพันธ์. 2546. มะม่วงแก้วไม้ผลเพื่อความหวังและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ. สำนักพิมพ์มติชน, กรุงเทพฯ. 199 หน้า.

ธวัชชัย รัตน์ชเลศ พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ รุ่งทิพย์ อุทุมพันธ์ และ ปฐมา เดชะ. 2545. มะม่วงแก้วสำหรับที่ดอนอาศัยน้ำฝน. ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 140 หน้า.

นิลปัทม์. 2538. มะม่วงเขียวมรกต “บ้านโฮ่ง 65” ทางเลือกใหม่ของชาวสวนภาคเหนือ. รายงานชาวสวน 2(3): 69-71.

ปฐมา เดชะ. 2543. ความแปรผันลักษณะทางสัณฐานและไอโซไซม์ และคุณสมบัติการแปรรูปของมะม่วงแก้วสายต้นคัด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 169 หน้า.

แม่โจ้ 54. 2546. “เขียวมรกต” มะม่วงพันธุ์เด่นของบ้านโฮ่ง พันธุ์ใหม่ที่น่าจับตามอง. วารสารรักษ์เกษตร 23(2): 31-33.

ยิ่งศักดิ์ ยอดยัง. 2545. ปัญหาและศักยภาพการผลิตมะม่วงพันธุ์เขียวมรกตและพันธุ์โชคอนันต์เพื่อการค้าของฟาร์มขนาดเล็กในจังหวัดลำพูน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.100 หน้า.

วิจิตร วังใน. 2536. พันธุ์มะม่วง. หน้า 1-17. ใน: การทำสวนมะม่วง. โครงการคู่มือประกอบอาชีพสำหรับประชาชน. ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.

สุรินทร์ นิลสำราญจิต. 2549. มะม่วงเขียวมรกต: คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www.clinictech.most.go.th (18 สิงหาคม 2549).

อรรัตน์ มงคลพร. 2548. เครื่องหมายโมเลกุลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. 95 หน้า.