การหาปริมาณความชื้นอย่างแม่นยำสูงในข้าวสาร พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ด้วยเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี

Main Article Content

ปาริชาติ เทียนจุมพล
รณฤทธิ์ ฤทธิรณ
สงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์
สุชาดา เวียรศิลป์

บทคัดย่อ

ความชื้นของข้าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 สามารถตรวจวัดได้อย่างแม่นยำสูงด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด-สเปกโทรสโกปี ในช่วงความยาวคลื่น 1400 ถึง 1900 นาโนเมตร สมการทำนายมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R) เท่ากับ 0.93 ค่าผิดพลาดมาตรฐานในการทำนายความชื้นในกลุ่ม calibration set (SEC) เท่ากับ 0.18 %  ค่าผิดพลาดมาตรฐานในการทำนายความชื้นในกลุ่ม validation set (SEP) เท่ากับ 0.14 % และ สัดส่วนของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความชื้นใน validation set กับ SEP (RPD) เท่ากับ 3.41ความชื้นของข้าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 สามารถตรวจวัดได้อย่างแม่นยำสูงด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด-สเปกโทรสโกปี ในช่วงความยาวคลื่น 1400 ถึง 1900 นาโนเมตร สมการทำนายมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R) เท่ากับ 0.93 ค่าผิดพลาดมาตรฐานในการทำนายความชื้นในกลุ่ม calibration set (SEC) เท่ากับ 0.18 % ค่าผิดพลาดมาตรฐานในการทำนายความชื้นในกลุ่ม validation set (SEP) เท่ากับ 0.14 % และ สัดส่วนของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานความชื้นใน validation set กับ SEP (RPD) เท่ากับ 3.41

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชูศักดิ์ ชวประดิษฐ์, อารีย์ ทิมินกุล, ปรีดาวรรณ ไชยศรีชลธาร และ ปรีชา อานันท์รัตนกุล. 2548. พัฒนาเครื่องวัดความชื้นข้าวเปลือกแบบความต้านทานไฟฟ้า. เอกสารรายงานวิจัย รหัส 09-01-47-0203. สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 10 หน้า.

อรอนงค์ นัยวิกุล. 2547. ข้าว: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 366 หน้า.

อารีย์ ทิมินกุล และนิทัศน์ ตั้งพินิจกุล. 2548. ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจสอบความชื้นข้าวเปลือกด้วยเครื่องวัดความชื้น. เอกสารรายงานวิจัย รหัส 09-01-47-0202. สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 27 หน้า.

Alberta Farm Machinery Research Centre. 1997. Evaluation Report No.E0175EDole 400(PB-70-11). Alberta, Canada. 7 pp.

Campbell, M.R., T.J. Brumm and D.V. Glover. 1997. Whole grain amylose analysis in maize using near-infrared transmittance spectroscopy. Cereal Chem. 74(3): 300-303.

Fearn, T. 1996. Comparing standard deviations. NIR News 7: 5-6.

Hall, C.W. 1971. Drying Farm Crops. The AVI Publishing Company, Inc., Westport, Connecticut. 336 pp.

Hill, M.J. (ed.). 1999. The Drying and Storage of Grain and Herbage Seeds. Foundation for Arable Research.Canterbury Agricultural and Science Center, Lincoln, New Zealand. 210 pp.

ISTA. 2006. International Rules for Seed Testing. Edition 2006. The International Seed Testing Association, Bassersdorf, Switzerland.

Iwamoto, M., S. Kawano and Y. Ozaki. 1995a. An overview of research and development of near infrared spectroscopy in Japan. J. Near Infrared Spectroscopy 3: 179-189.

Iwamoto, M., S. Kawano and H. Abe. 1995b. Analysis of hydrogen bonding related to water in foods. NIR News 6(3): 10-12.

Kays, S. E. and F.E. Barton, II. 2002. Near–infrared analysis of soluble and insoluble dietary fiber fractions of cereal food products. J. Agric. Food Chem. 50: 3024-3029.

Kays, S. E., F.E. Barton, II and W. R. Windham. 2000. Predicting protein content by near infrared reflectance spectroscopy in diverse cereal food products. J. Near Infrared Spectroscopy 8: 35-43.

Osborne, B.G., T. Fearn, and P.T. Hindle. 1993. Practical NIR Spectroscopy with Applications in Food and Beverage Analysis. 2nd ed. Longman Scientific & Technology, Harlow. 227 pp.

Williams, P.C. and D.C. Sobering. 1993. Comparison commercial near infrared transmittance and reflectance instruments for analysis of whole grains and seeds. J. Near Infrared Spectroscopy 1: 25-32.

Williams, P.C. and K. Norris. (eds.). 2001. Near-infrared Technology in the Agricultural and Food Industries. 2nd ed. American Association of Cereal Chemists, St. Paul, Minnesota. 296 pp.