ผลของการเคลือบผิวด้วยไคโตซานต่อการเข้าทำลายของ เชื้อราในผลสตรอเบอรี่พันธุ์พระราชทาน 72
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาผลของสารเคลือบผิวไคโตซานและอุณหภูมิต่ำต่อการเข้าทำลายของเชื้อรา และกิจกรรมของเอนไซม์ไคติเนสในผลสตรอเบอรี่พันธุ์พระราชทาน 72 ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า ผลสตรอเบอรี่ที่ปลูกเชื้อด้วยสปอร์ของเชื้อรา Rhizopus sp. ความเข้มข้น 3´105 สปอร์/มิลลิลิตร และเคลือบผิวด้วยไคโตซานความเข้มข้น 1.5 เปอร์เซ็นต์ แล้วนำไปเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มีการเข้าทำลายของเชื้อราน้อยกว่าและมีกิจกรรมของเอนไซม์ไคติเนสสูงกว่าผลสตรอเบอรี่ที่ปลูกเชื้อด้วยสปอร์ของเชื้อรา Rhizopus sp. ความเข้มข้น 3´105 สปอร์/มิลลิลิตร แล้วไม่เคลือบผิวด้วยไคโตซาน
Article Details
References
ชลิต เขาวงศ์ทอง. 2540. ผลของสารเคลือบผิวที่บริโภคได้และอุณหภูมิต่อคุณภาพกล้วยไข่หลังการเก็บเกี่ยว. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 118 หน้า.
ดนัย บุณยเกียรติ และนิธิยา รัตนาปนนท์. 2548. การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 236 หน้า.
วิเชียร เลี่ยมนาค. 2541. ผลของการเคลือบผิวด้วยไคโตแซน ต่อการควบคุมโรคและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้และเขียวเสวย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 119 หน้า.
Ben-Shalom, N., R. Ardi, R. Pinto, C. Aki and E. Fallik. 2003. Controlling gray mould by Botrytis cinerea in cucumber plants by means of chitosan. Crop Protection 22: 285-290.
El-Ghaouth, A., J. Arul, J. Grenier and A. Asselin. 1992. Antifungal activity of chitosan on two postharvest pathogens of strawberry fruits. Phytopathology 82(4): 398-402.
Jiang, Y. and Y. Li. 2001. Effect of chitosan coating on postharvest life and quality of longan fruit. Food Chemistry 73: 139-143.
Nelson, N. 1944. A photometric adaptation of the Somogyi method for the determination of glucose. Journal of Biological Chemistry 153: 375-380.
Pan, S. Q., X. S. Ye and J. Kue. 1989. Direct detection of -1,3-glucanase isozymes on polyacrylamide electrophoresis and isoelectrofocusing gels. Annual Review of Biochemistry 182: 136-140.
Reddy, B. M. V., K. Belkacemi, R. Corcuff, F. Castaigne and J. Arul. 2000. Effect of pre-harvest chitosan sprays on postharvest infection by Botrytis cinerea and quality of strawberry fruits. Postharvest Biology and Technology 20: 39-51.
Romanazzi, G., F. Nigro and A. Ippolito. 2001. Chitosan in the control of postharvest decay of some Mediterranean fruits. pp. 141-146. In: R. A. A. Muzzarelli, (ed.). Chitin Enzymology. Atec, Italy.
Romanazzi, G., F. Nigro and A. Ippolito. 2003. Short hypobaric treatments potentiate the effect of chitosan in reducing storage decay of sweet cherries. Postharvest Biology and Technology 29: 73-80.
Shahidi, F., J. K. V. Arachchi and Y. J. Jeon. 1999. Food applications of chitin and chitosans. Trends in Food Science & Technology 10: 37-51.
Zhang, D. and P. C. Quantick. 1998. Antifungal effects of chitosan coating on fresh strawberries and raspberries during storage. Journal of Horticultural Science and Biotechnology 73: 763-767.