การศึกษาการปรับปรุงพันธุ์ลำไยโดยวิธีกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์ II. การพัฒนาของต้นที่เกิดจากการเพาะเมล็ดที่ได้รับรังสีแกมม่า
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาการพัฒนาของต้นลำไยพันธุ์ดอที่เกิดจากเมล็ดที่ได้รับรังสีแกมม่า ตั้งแต่ 5-7 Gy หลังจากปลูก 16 เดือน พบว่าต้นในแต่ละระดับของรังสีมีความแตกต่างกันทางด้านความสูง ทรงพุ่ม และเส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น แต่เมื่อเปรียบเทียบจากค่าเฉลี่ยของทุกต้น และทุกหัวข้อที่ศึกษาในแต่ละระดับของรังสี พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน พบต้น 2 ต้น ที่มีลักษณะภายนอกที่แตกต่างไปจากต้นควบคุม ยังไม่พบต้นทดลองใดให้ดอกในปีที่ 2 นี้
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
ระมิงค์วงศ์, เกศินี. (2528). การจำแนกไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กุธนาศล, ประทีบ และ สังข์ทอง, ชลิดา. (2528). แนวทางเพิ่มผลผลิตลำไย. หนังสือประกอบการสัมมนาเรื่องการพัฒนาลำไยเพื่อการส่งออก. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 54 หน้า.
เสถียรสวัสดิ์, วัฒนา., บุญศรี, ปวิน., ลิมังกูร, ลดาศิริ. และอุนขะนำ, อมรรัช. (2515). การใช้สารเคมีบางชนิดฉีดกระตุ้นการออกช่อดอกของลำไย. วารสารพืชสวน 7(4): 25-34.
ละอองศรี, สุนันท์. (2528). ท่านรู้จักลำไยพันธุ์ดีของไทยแล้วหรือยัง. หนังสือประกอบการสัมมนาเรื่อง การพัฒนาลำไยเพื่อการส่งออก. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 54 หน้า.
สุรนันต์, สุภัทรพันธุ์. (2528). สาเหตุที่ทำให้ผลผลิตของลำไยต่ำ. หนังสือประกอบการสัมมนาเรื่อง การพัฒนาลำไยเพื่อการส่งออก. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 54 หน้า.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2535). การเกษตรของประเทศไทย จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 176 หน้า.
กระแสชัย, อดิศร., รัตน์ชเลศ, ธวัชชัย. และ แพทย์วิบูลย์, วไลลักษณ์. (2534). การศึกษาการปรับปรุงพันธุ์ลำไยโดยวิธีกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์ I. ผลของปริมาณรังสีแกมม่าต่อการพัฒนาของเมล็ดและกิ่ง ตอนวารสารเกษตร 7(2): 154-167.
Cambel, Al. and Lacey, C.N.D. (1973). Compact mutants of Bramley's seedling apple induced by gamma irradiation. J. Hortic. Sci. 48: 397-402.
Granhad, I. (1953). X-rays mutations in apples and pears. Hereditas. 39: 149-155.
Hough, LF. and Weaver, G.M. (1959). Irradiation as an aid in fruit variety improvement, I. Mutations in the peach. J. Hered., 50(2): 59-62.
Lacey, C.N.D. (1977). The mutation spectrum of Cox's Orange Pippin resulting from gamma irradiation. In: Eucarpia Meet., Tree Fruit Breeding, Wageningen, 1976, pp. 46-52.
Subhadrabandhu, S. (1990). Lychee and Longan Cultivation in Thailand. Rumthai Publication, Bangkok, Thailand. 40 pp.
กุธนาศล, ประทีบ และ สังข์ทอง, ชลิดา. (2528). แนวทางเพิ่มผลผลิตลำไย. หนังสือประกอบการสัมมนาเรื่องการพัฒนาลำไยเพื่อการส่งออก. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 54 หน้า.
เสถียรสวัสดิ์, วัฒนา., บุญศรี, ปวิน., ลิมังกูร, ลดาศิริ. และอุนขะนำ, อมรรัช. (2515). การใช้สารเคมีบางชนิดฉีดกระตุ้นการออกช่อดอกของลำไย. วารสารพืชสวน 7(4): 25-34.
ละอองศรี, สุนันท์. (2528). ท่านรู้จักลำไยพันธุ์ดีของไทยแล้วหรือยัง. หนังสือประกอบการสัมมนาเรื่อง การพัฒนาลำไยเพื่อการส่งออก. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 54 หน้า.
สุรนันต์, สุภัทรพันธุ์. (2528). สาเหตุที่ทำให้ผลผลิตของลำไยต่ำ. หนังสือประกอบการสัมมนาเรื่อง การพัฒนาลำไยเพื่อการส่งออก. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 54 หน้า.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2535). การเกษตรของประเทศไทย จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 176 หน้า.
กระแสชัย, อดิศร., รัตน์ชเลศ, ธวัชชัย. และ แพทย์วิบูลย์, วไลลักษณ์. (2534). การศึกษาการปรับปรุงพันธุ์ลำไยโดยวิธีกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์ I. ผลของปริมาณรังสีแกมม่าต่อการพัฒนาของเมล็ดและกิ่ง ตอนวารสารเกษตร 7(2): 154-167.
Cambel, Al. and Lacey, C.N.D. (1973). Compact mutants of Bramley's seedling apple induced by gamma irradiation. J. Hortic. Sci. 48: 397-402.
Granhad, I. (1953). X-rays mutations in apples and pears. Hereditas. 39: 149-155.
Hough, LF. and Weaver, G.M. (1959). Irradiation as an aid in fruit variety improvement, I. Mutations in the peach. J. Hered., 50(2): 59-62.
Lacey, C.N.D. (1977). The mutation spectrum of Cox's Orange Pippin resulting from gamma irradiation. In: Eucarpia Meet., Tree Fruit Breeding, Wageningen, 1976, pp. 46-52.
Subhadrabandhu, S. (1990). Lychee and Longan Cultivation in Thailand. Rumthai Publication, Bangkok, Thailand. 40 pp.